วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ ตัวอย่าง

Ваш запрос не может быть обработан
С данным запросом возникла проблема. Мы работаем чтобы устранить ее как можно скорее.

Зарегистрируйтесь или войдите на Facebook, чтобы продолжить.

Присоединиться

или

Вход

               การวิจารณ์และการวิเคราะห์การแสดง เป็นการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการแสดงให้ดีขึ้น  ในการวิเคราะห์  วิจารณ์การแสดงนั้น ผู้ที่วิเคราะห์ วิจารณ์งานศิลปะจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์  มีความคิด มีเหตุผลที่ดีในการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดง

             หลักและวิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ มีดังนี้

     ๑. ผู้วิจารณ์ควรมีพื้นฐานทางนาฏศิลป์

         ผู้วิจารณ์สามารถพิจารณาได้ว่า การแสดงมีความถูกต้องหรือไม่ เช่น เรื่องของท่ารำที่ใช้สื่อความหมายว่าสอดคล้องกับบทร้องและทำนองเพลงหรือไม่

     ๒. ผู้วิจารณ์มีความสามารถด้านการแต่งกาย

       ผู้วิจารณ์ต้องมีความรู้เรื่องการแต่งกายประกอบการแสดงสามารถวิเคราะห์ได้ว่าผู้แสดงแต่งกายได้ถูกต้องและเหมาะสมกับการแสดงหรือไม่

    ๓. ผู้วิจารณ์มีความสามารถทางด้านดนตรีประกอบการแสดง

       ผู้วิจารณ์ต้องมีความรู้เกี่ยวกับดนตรี บทเพลงที่ใช้ประกอบการแสดง สามารถวิเคราะห์และวิจารณ์ได้ว่าดนตรีหรือบทเพลงมีความถูกต้อง  เหมาะสมกับการแสดงหรือไม่

    ๔. ผู้วิจารณ์ทราบเนื้อเรื่องที่ใช้แสดงเป็นอย่างดี

       ผู้วิจารณ์ควรศึกษาเนื้อเรื่องโดยสังเขปก่อนชมการแสดงเพื่อที่จะทำให้เข้าใจการแสดงและสามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ได้ถูกต้อง

       นอกจากหลักและวิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ดังกล่าวแล้ว  ผู้วิจารณ์ควรคำนึงสถานที่ ที่ใช้ในการประกอบการแสดงว่าเหมาะสมหรือไม่ และที่สำคัญผู้วิจารณ์ควรมีความเป็นธรรมในการวิจารณ์ไม่ลำเอียงหรือวิจารณ์ด้วยเหตุผลส่วนตัว  หรือฟังจากบุคคลต่างๆ เพราะจะทำให้การวิจารณ์ไม่เที่ยงตรง

คำถามท้าทาย 

 การวิจารณ์การแสดงโดยใช้ถ้อยคำรุนแรง จะส่งผลต่อการแสดงอย่างไร

“คู่กรรม” ฉบับละครเพลง

“คู่กรรม” ฉบับละครเพลง   พนิดา ฐปนางกูร     นวนิยายขายดีเรื่อง คู่กรรม ของ “ทมยันตี” ได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นการแสดงครั้งแล้วครั้งเล่า ทั้งที่เป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์และเป็นที่กล่าวขานเสียงทุกครั้งไป ครั้งนี้ก็เช่นเดียวกัน เมื่อโรงละคร […]

» Read more

เมื่อละครโนกลับมาในร่างใหม่

เมื่อละครโนกลับมาในร่างใหม่ (The No Stage, Newly Activated The Legend of Komachi)   เซนดะ อากิฮิโกะ   สำหรับผู้ที่เป็นนักวิจารณ์ละครร่วมสมัยอย่างข้าพเจ้าคงไม่มีความสุขใดที่ยิ่งไปกว่าการ ได้อยู่ร่วมชมการแสดงที่สามารถนำเอากรอบของการนำเสนอละคร […]

» Read more

ละครพูดกับวิญญาณประชาธิปไตย

ละครพูดกับวิญญาณประชาธิปไตย* เจตนา นาควัชระ   ในส่วนที่เกี่ยวกับประเด็นเรื่องการละครที่จะบรรยายในวันนี้นั้น ผู้บรรยายใคร่ขอออกตัวเสียตั้งแต่เริ่มแรกว่าจะพูดถึงโลกแห่งศิลปะการแสดงในแง่มุมหนึ่งเท่านั้น มิได้มุ่งที่จะให้ข้อคิดเป็นเชิงสรุปรวมว่าละคร […]

» Read more

ว่าด้วยละครเรื่อง “แม่” ของเบรคชท์

ว่าด้วยละครเรื่อง “แม่” ของเบรคชท์ โรลองด์ บาร์ธส์   เราคงจะต้องทำเมืองปารีสให้เต็มไปด้วยพวกตาบอดตาใสเพื่อที่จะมองละครเรื่อง”แม่” ว่าเป็นงานโฆษณาชวนเชื่อ การที่เบรคชท์เลือกเอาความคิดมาร์กซิสม์มาใช้ ไม่ได้หมายความว่า ผลงาน […]

» Read more

จาก “สีดาหาย” ไปสู่ “ลุยไฟ” มีอะไรหล่นหายในระหว่างทาง ?

จาก “สีดาหาย” ไปสู่ “ลุยไฟ” มีอะไรหล่นหายในระหว่างทาง ?   ปาริชาติ จึงวิวัฒนาภรณ์     ในช่วงปลายเดือน ม.ค. ที่ผ่านมา วงการละครเวทีมีความคึกคักมากเป็นพิเศษ เพราะนอกเหนือจากเทศกาลละคร “ฟรินจ์ เฟสทิวัล” ที่จัดขึ้นที่ภัทราวดีเธียเตอร์แล้ว […]

» Read more

“แฮมเลต” หรือความล้มเหลวของอุดมศึกษาไทย

“แฮมเลต” หรือความล้มเหลวของอุดมศึกษาไทย   เจตนา  นาควัชระ   เขาว่ากันว่า แฮมเลต ของคณะละคร “สองแปด” เป็นละครเวทีของไทยที่ประสบความสำเร็จสูงสุดในรอบทศวรรษ ผู้คนเบียดเสียดแย่งกันซื้อบัตรเข้าชมจนเต็มทั้ง 8 รอบ ในช่วงที่ […]

» Read more

หยิบวรรณคดีมาตีเป็นละคร กับพิมพิลาไลย

หยิบวรรณคดีมาตีเป็นละคร กับพิมพิลาไลย   มนฑนา ยอดจักร์   เมื่ออาทิตย์ที่ผ่านมาได้ไปชม “พิมพิลาไลย” ละครเวทีร่วมสมัยที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสีสันวรรณกรรมในระดับอุดมศึกษา ซึ่งเป็นโครงการที่จัดขึ้นโดยคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ จา […]

» Read more

คือผู้อภิวัฒน์…ทางอันแจ่มใสของละครเวทีไทย

คือผู้อภิวัฒน์…ทางอันแจ่มใสของละครเวทีไทย เจตนา นาควัชระ   เพื่อนร่วมงานของผมคนหนึ่งที่ทับแก้วเพิ่งจะปรารภกับผมเมื่อไม่กี่วันมานี่เองว่า น่าเป็นห่วงละครเวทีไทย เพราะดูประหนึ่งว่าเส้นทางที่เพื่อนเราส่วนใหญ่กำลังเดินอยู่นั้นคือการตาม “นายฝรั่ง” คื […]

» Read more

ละครพันทาง ‘อันตราคนี’ ผู้มาหลังกาลเวลา

ละครพันทาง ‘อันตราคนี’ ผู้มาหลังกาลเวลา   รัศมี เผ่าเหลืองทอง ใครหลายๆคนคิดเอาไว้ว่าละครเรื่อง อันตราคนี ที่กำลังลงโรงอยู่ที่หอประชุมเล็ก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เวลานี้ จะเป็นการกลับมาของยักษ์ใหญ่ซึ่งหลับไปเสียนาน หลังจากละครเรื่อง วัยวุ่น ปิดฉากไ […]

» Read more

จิตวิทยาสังคม จากการแสดงละครใน ตอนศึกกะหมังกุหนิง

จิตวิทยาสังคม จากการแสดงละครใน ตอนศึกกะหมังกุหนิง   ม.ล. บุญเหลือ  เทพยสุวรรณ   เนื่องในการฉลองการครบสองศตวรรษแห่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งเรามักเรียกกันเพื่อความสะดวกว่า รัชกาลที่ 2 กรมศิลปากรหรืออีกนัยหนึ่งโรงเรียนนาฏศิลป์ ได […]

» Read more