การประมวลผลข้อมูล ม.3 สสวท ppt

Description: 5.1 ข้อมูล (Data)

Keywords: วิทยาการคำนวณ ม.1 สสวท,หน่วยที่ 5 ข้อมูลและการประมวลผล,5.1 ข้อมูล (Data)

Search

Read the Text Version

    Pages:

  • 1 - 13

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 หน่วยที 5 ขอ้ มลู และการประมวลผล ครูวลั ยา สิงห์แกว้

เนื อหาในบทเรยี น วทิ ยาการคํานวณ ม.1 5.1 ข้อมูล 5.2 การรวบรวมข้อมูล 5.3 การประมวลผลข้อมูล 5.4 การสรา้ งทางเลือกเพือตัดสินใจ 5.5 ซอฟแวรจ์ ัดการกับข้อมูล

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชวี ดั ว 4.2 ม.1/3 รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นํ าเสนอข้อมูล และสารสนเทศตามวัตถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟแวร์ หรอื บรกิ ารบนอินเทอรเ์ น็ ตทหี ลากหลาย

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู ้ วทิ ยาการคํานวณ ม.1 1. เลือกข้อมูล และออกแบบวิธกี ารการรวบรวมข้อมูล 2. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ 3. ประมวลผลข้อมูล ออกแบบทางเลือก และประเมินทางเลือกใน การแก้ปญหา หรอื ตัดสินใจ 4. ใชซ้ อฟต์แวรใ์ นการจัดการกับข้อมูล และนํ าเสนอข้อมูลไดอ้ ย่าง เหมาะสม

วทิ ยาการคํานวณ ม.1

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 ขอ้ มลู (Data) หมายถึง ความจรงิ ทอี ย่ใู นรูปของตัวเลข ข้อความ ภาพ เสียง ข้อสังเกต ทรี วบรวมมาจากเหตุการณ์หรอื สิงใดสิงหนึ ง ตามพจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 ได้ให้ นิ ยามคําว่า ข้อมูล คือ \"ข้อเทจ็ จรงิ หรอื สิงทถี ือ หรอื ยอมรบั วา่ เปน ข้อเทจ็ จรงิ สําหรบั ใชเ้ ปนหลักอนมุ านหาความจรงิ หรอื การ คํานวณ\"

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 1. ขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณ (Quantitative data) อย่ใู นรูปของตัวเลข เชน่ จํานวนเสือโครง่ อนิ โดจีนใน ประเทศไทย ปรมิ าณกําลังไฟฟาทลี ดได้ในกิจกรรม \"ปดไฟ 1 ชวั โมง เพือลดโลกรอ้ น\" จํานวนคนรว่ มชมการถ่ายทอดสดผา่ น Facebook ปรมิ าณนาฝนรายเดือน

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 2. ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative data) อย่ใู นรูปข้อความ อธบิ ายความหมาย บรรยายความคิดเห็น ความรูส้ ึก บทสัมภาษณ์ เชน่ สถานทที ศั นศึกษาทนี ั กเรยี นแต่ละ คนในห้อง ม.1/1 สนใจ ความรูส้ ึกทมี ีต่อการชมภาพยนต์ การ บรรยายลักษณะนิ สัยของบุคคล

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 เเหลง่ ขอ้ มลู เปนแหลง่ กําเนิดของขอ้ มลู หรอื เปนแหลง่ รวบรวมขอ้ มลู เชน่ คน สัตว์ สิงของ สถานที เหตกุ ารณ์

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 ขอ้ มลู แบง่ ตามลกั ษณะของการไดม้ า ดงั นี

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 1. ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ (Primary data) คือ ข้อมูลทไี ด้จากแหล่งกําเนิ ดข้อมูลหรอื จดุ เรมิ ต้นของข้อมูล เชน่ ข้อมูลทไี ด้จากการทดลอง การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ ข้อมูล ความสําเรจ็ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ภมู ิปญญา ข้อมูลสถานการณ์ ทางการเมือง ความคิดเห็นของผเู้ ชยี วชาญ ข้อมูลปฐมภมู ิเปนข้อมูลที เกิดขึนจากการกระทํา หรอื การจดบันทกึ ของผมู้ ีส่วนรว่ มในเรอื งราว หรอื เหตุการณ์เหล่านั น ข้อมูลปฐมภมู ินํ าเสนอรายละเอยี ดทเี ปนมุม มองของเหตุการณ์ทเี กิดขึน สาระสําคัญ บุคคล และสถานที

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 2. ขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary data) คือ ข้อมูลทไี ม่ได้มาจากแหล่งกําเนิ ดโดยตรง แต่ได้มาจาก การอ้างอิงถึงข้อมูลปฐมภูมิ หรอื นํ าข้อมูลปฐมภมู ิมาวิเคราะห์ ประมวลผล ซงึ อาจอย่ใู นรูปสถิติ บทวจิ ารณ์ บทความ เอกสาร ต่าง ๆ เปนต้น

วทิ ยาการคํานวณ ม.1 นั กเรยี นศึกษาเนื อหาในบทเรยี นถัดไปนะคะ หัวข้อ 5.2 เรอื ง การรวบรวมข้อมูล


การประมวลผลข้อมูล ม.3 สสวท ppt

เนื้อหาวิทยาการคำวณ ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ

การประมวลผลข้อมูล ม.3 สสวท ppt

2. การประมวลผลข้อมูล

การประมวลผลข้อมูลหมายถึง การนำข้อมูลมากระทำด้วยวิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการนำข้อมูลมาจัดเรียงลำดับ การนำข้อมูลมาสรุป การนำมาคำนวณ หรือกระทำด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยการประมวลผลข้อมูลแบ่งตามอุปกรณ์สามารถทำได้ 3 ประเภท คือ

  1. การประมวลผลด้วยมือ เป็นวิธีการในยุคแรก ซึ่งใช้ลูกคิดในการคำนวณ การใช้เครื่องคิดเลข การประมวลผลแบบนี้เหมาะกับข้อมูลที่ไม่มากและไม่ต้องการความละเอียดมากมาย
  2. การประมวลผลด้วยเครื่องจักรกล เช่น การคำนวณด้านบัญชีโดยการอาศัยเครื่องทำบัญชี เป็นการประมวลผลที่มีความถูกต้องมากกว่าการประมวลผลด้วยมือ 
  3. การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นวิธีการที่นิยมใช้มากสุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีความถูกต้องและรวดเร็วมาก มีความละเอียดสูง เหมาะกับข้อมูลเยอะ ๆ  

ลำดับการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้

  1. การนำข้อมูลเข้า (input) เช่นการป้อนข้อมูลผ่านทางแป้นพิมพ์ การรับข้อมูลจากไมโครโฟน
  2. การประมวลผล (process) เป็นขั้นตอนในการประมวลผล เช่น การคำนวณ การจัดเรียง หรือการกระทำต่าง ๆ
  3. การแสดงผล (output) โดยอาจจะแสดงผลออกทางหน้าจอ หรือเสียงลำโพง หรือแม้แต่ทางเครื่องพิมพ์

วิธีการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 2 วิธี

1. การประมวลผลแบบแบตช์ (Batch Processing) เป็นการประมวลผลโดยการรวบรวมข้อมูลเอาไว้ก่อนจนกว่าจะได้ข้อมูลที่มากพอ หรือตามกำหนดเวลา จากนั้นจึงนำมาประมวลผล

การประมวลผลข้อมูล ม.3 สสวท ppt

ข้อดี

  1. เหมาะกับองค์กรขนาดใหญ่ ที่มีข้อมูลมากๆ
  2. ง่ายต่อการตรวจสอบ เมื่อเกิดข้อผิดพลาด

ข้อเสีย

  1. ข้อมูลที่ได้ไม่มีความทันสมัย
  2. ต้องใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูล

2. การประมวลผลแบบอินเทอร์แอ็กทีฟ (Interactive Processing) เป็นการประมวลผลที่พอได้ข้อมูลมามันจะประมวลผลโดยทันที โดยคอมพิวเตอร์จะประมวลผลทันทีที่มีการนำข้อมูลเข้า โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ

  1. การประมวลผลแบบออนไลน์ เช่น ATM
  2. การประมวลผลแบบทันที

การประมวลผลข้อมูล ม.3 สสวท ppt

ข้อดี

  1. ตรวจสอบความถูกต้องได้ทันที
  2. ข้อมูลมีความทันสมัย

ข้อเสีย

  1. มีโอกาสเกิดความผิดพลาดได้
  2. แก้ไขข้อผิดพลาดได้ยากกว่าการประมวลผลแบบแบตช์