มาตรฐาน การ ศึกษา ของ ประเทศ ฟินแลนด์

ประเด็นที่ได้เรียนรู้จากระบบการศึกษาของฟินแลนด์นี้ อาจจะไม่ได้อยู่ที่ การที่ประเทศนี้ติด top 5 PISA test  เพราะ มีประเทศอื่นๆที่สามารถทำได้เช่นกัน เเละ เป็นประเทศในเอเชียของเราด้วย เช่น สิงคโปร์ ญี่ปุ่น และไต้หวัน แต่ประเด็นอยู่ที่ การได้ top 5 ของประเทศเหล่านี้ มาจากความเครียดจากการเรียนที่มากกว่ากันมาก ไม่เหมือนการเรียนเเบบ ฟิน ฟิน ของฟินเเลนด์

อีกประเด็นหนึ่งที่ได้เรียนรู้คือ การปฏิรูปการศึกษาสามารถทำให้สำเร็จได้ ฟินเเลนด์เป็นตัวอย่างของประเทศที่ถีบตัวเองขึ้นมาจากประเทศด้อยพัฒนาของยุโรป มาเป็นประเทศพัฒนา เเละยังสามารถปฏิรูปการศึกษาของตัวเองได้อย่างยอดเยี่ยม เเซงหน้าประเทศต่างๆที่มีความยิ่งใหญ่มากกว่า สิ่งที่น่าจะเป็นประเด็นให้เราได้เรียนรู้คือ เขาใช้พลังทางการเมือง การบริหาร และทรัพยากรอย่างไรจึงทำให้เกิดสิ่งนี้ขึ้นได้

Finland

นายวฒุ ิกร ออ๋ งมณี นายวิชยั พรหมสรุ ินทร์

นางสาวสาวิตรี เช่ียวชาญ นางสาวอภิญญา ชยั เบา้ นางสาวจฑุ ามาศ ฉิมพาล

Finland


Helsinki

81.8%
1.1%
1.2%

15.9%

DAY CARE ADULT EDUCATION
Pre-School
Basic Education HIGHER EDDUCATION

SECONDARY EDUCATION

DAY CARE

Pre-School

การศกึ ษาของฟินแลนดม์ คี ุณภาพสูง ดว้ ยตงั้ อย่บู นพ้ืนฐานของ
ความคิดท่ีชัดเจนว่า “คนเป็ นสิ นทรพั ย์ท่ีสาคัญท่ีสุดของ
ประเทศ เดก็ ทุกคนมีสิทธ์ิท่ีจะได้รบั การศึกษาที่ยอดเย่ียม
ซึ่งจะช่วยเพิ่มศกั ยภาพและได้ทาในส่ิงท่ีต้องการ” ปรชั ญาน้ี

ทาให้ฟินแลนด์พฒั นาข้นึ อย่างรวดเร็ว จากหน่ึงในประเทศท่ี
ยากจนท่ีสุดในโลกจนกลายเป็ น หน่ึงใน 100 ประเทศ ของ
ประเทศทร่ี ่ารวยทส่ี ุดของโลก นบั ตงั้ แต่เป็นอสิ ระ ฟินแลนดม์ ุง่ มนั ่
พฒั นาคนใหส้ ามารถแกป้ ัญหา ใหโ้ อกาสในการศกึ ษาตลอดชีวติ
ทาใหฟ้ ินแลนดพ์ ฒั นาระบบได้ และทุกคนไดพ้ ฒั นาตนเอง โดยใช้
งบประมาณจากภาษีของประเทศ สถาบนั การศกึ ษาทงั้ ของรฐั
และเอกชน (ซง่ึ มจี านวนน้อยมาก) มวี ตั ถุประสงค์และมาตรฐาน
เดยี วกนั ในการพฒั นานกั เรยี น โดยไดร้ บั การสนบั สนุนทุนจากรฐั

การศกึ ษาในประเทศฟินแลนด์ เป็นระบบการศกึ ษา
ทร่ี ฐั บาลใหค้ วามช่วยเหลอื ด้านการเงนิ แก่นักเรยี น ท่เี รยี นเต็ม
เวลาในโรงเรยี น

กลยุทธ์ของฟินแลนด์ในการให้ความสาคญั ด้าน
ความเท่าเทยี มและความเป็นเลศิ ทางการศกึ ษา มพี ้นื ฐานมาก
จากการก่อตัง้ โรงเรียนแบบประสมซ่ึงได้รบั การอุดหนุนจาก
รฐั บาล ส่วนหน่ึงของกลยุทธ์น้ีคือ การสร้างเครือข่ายโรงเรยี น
เพ่อื จดั สรรใหน้ ักเรยี นได้เขา้ เรยี นในโรงเรยี นใกลบ้ ้านมากท่สี ุด
เทา่ ทจ่ี ะเป็นไปได้ แต่ถา้ ไม่สามารถทาได้ ตวั อย่างเช่น ในชนบท
รฐั จะจดั หารถรบั ส่งนักเรยี นฟรไี ปยงั โรงเรยี นท่กี ระจายออกไป
ห่างไกลบ้าน จัดการศึกษาพิเศษแบบองค์รวม (Inclusive
Special Education) ในชนั้ เรยี นปกตแิ ละการใช้ ความพยายาม
ในการสอนชว่ ยเดก็ ทไ่ี มป่ ระสบความสาเรจ็ ทางการเรยี นให้เรยี น

ด ร ร ช นี ก า ร พั ฒ น า ม นุ ษ ย์ ข อ ง
สหประชาชาตใิ นปี ค.ศ. 2020 ไดแ้ สดงว่าฟินแลนด์
มรี ะดบั ดรรชนีการศกึ ษาท่ี 0.938 ในบรรดาประเทศ
อันดับสูงสุดในโลก เท่า ๆ กับประเทศเดนมาร์ก
ออสเตรเลยี และเนเธอร์แลนด์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ฟินแลนด์กล่าวว่า ความสาเร็จทางการศึกษาของ
ประเทศเกดิ ได้เพราะ กระทรวงศึกษาธิการของ
ฟิ นแลนด์ได้กาหนดระบบการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
(Basic Education) มีรปู แบบเดียวกนั และมีครทู ี่

มีความร้คู วามเช่ียวชาญ ตลอดจนให้โรงเรียน
ทุกโรงเรยี นมอี านาจในการจดั การศกึ ษาของตน

จากผลการศกึ ษาแนวทางการกาหนดมาตรฐานของชาตแิ ละการนามาตรฐานไปสกู่ ารจดั หลกั สตู ร
และการเรยี นการสอน กล่าวโดยสรุปได้ว่ามาตรฐานระดบั การศกึ ษาปฐมวยั กาหนดด้านการมสี ่วนร่วมใน
การศกึ ษาและสทิ ธขิ องเดก็ ทุกคนโดยไม่มคี า่ ใชจ้ ่าย มาตรฐานระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานให้ความสาคญั กบั ให้
โอกาสเดก็ ทุกคนเขา้ ถงึ และได้รบั การศกึ ษาท่มี คี ุณภาพเท่าเทียมกนั ส่วนมาตรฐานการอาชวี ศึกษาเน้นด้าน
ความรูพ้ น้ื ฐานและความพรอ้ มในการทางานในอาชีพ และมาตรฐานระดบั การอุดมศกึ ษาเน้นการทางานจรงิ ท่ี

ประยกุ ตท์ งั้ การฝึกงาน ความชานาญในการทางานและการทาวจิ ยั โดยฟิ นแลนดไ์ ม่มีการประกนั คณุ ภาพ
ภายในทุกระดับการศึกษา แต่ใช้ผลการประเมิ นคุณภาพนักเรียนจากหลักสูตรที่
สถาบนั การศึกษาที่ดาเนิ นการเป็นการตรวจสอบคณุ ภาพ และกาหนดให้ศนู ยป์ ระเมินการศกึ ษา
ของประเทศ (FINEEC) ใช้ระบบการประกนั คุณภาพภายนอกในการตรวจสอบผลการจดั
การศึกษาในภาพรวมของประเทศ สว่ นในดา้ นการกากบั ตดิ ตามการดาเนินงาน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารดูแล

กากบั ตดิ ตาม และสนับสนุนงบประมาณโดยรฐั สภาจะตดั สนิ ใจเก่ยี วกบั กฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ งและการจดั สรร
งบประมาณประจาปีใหก้ บั สถานศกึ ษาและสถาบนั การศกึ ษาของประเทศ


เพราะสิ่งที่ระบบการศึกษาของฟินแลนด์เชื่อ ก็คือ เราไม่สามารถใช้ข้อสอบเดียวในการวัดผลคุณภาพของเด็กได้ทุกคน

ดังนั้น การจัด Ranking ของโรงเรียนจึงไม่มีในฟินแลนด์
ซึ่งทำให้โรงเรียนจะไม่ถูกแบ่งงบประมาณตามความเก่งของแต่ละโรงเรียน

อย่างไรก็ตาม การประเมินยังคงมีอยู่ ซึ่งจะให้ครูที่โรงเรียนมีหน้าที่ในการประเมินเด็กแต่ละคน

มาตรฐาน การ ศึกษา ของ ประเทศ ฟินแลนด์
Cr. thisisFINLAND

สิ่งที่น่าสนใจไปกว่านั้นก็คือ
กระทรวงศึกษาธิการของฟินแลนด์มีบทบาทที่ต่างจากประเทศอื่น

ถ้าเราคิดว่าครูจะมีหลักเกณฑ์จากกระทรวงศึกษา
และเอาหลักเกณฑ์นั้นไปประเมินเด็กตามที่กระทรวงต้องการ
“เราอาจคิดผิด”

เพราะครูในฟินแลนด์ จะมีอิสระอย่างมากในการออกแบบหลักสูตร วิธีการประเมิน และรูปแบบการสอน

ดังนั้น การศึกษาของฟินแลนด์จะเป็นรูปแบบ นักเรียน > ครู > กระทรวง
มากกว่า กระทรวง > ครู > นักเรียน
ซึ่งจะเป็นการยัดเยียดสิ่งที่กระทรวงต้องการมากกว่าสิ่งที่นักเรียนต้องการ

นอกจากนี้ สิ่งที่ระบบการศึกษาของฟินแลนด์เชื่อ คือ เด็กทุกคนต้องมีความเท่าเทียมกันในด้านการศึกษา ไม่ว่าฐานะทางบ้านจะแตกต่างกันเท่าไหร่ก็ตาม

ดังนั้น เด็กกว่า 97% ในประเทศฟินแลนด์จะถูกดูแลอยู่ภายใต้โรงเรียนที่บริหารงานโดยรัฐบาล ไม่ใช่กลุ่มของนักการเมือง หรือกลุ่มทุนกลุ่มใดเป็นพิเศษ

เด็กนักเรียนที่มีฐานะต่างกันจะได้เรียนหนังสือด้วยกัน และพวกเขาจะโตขึ้นมาด้วยกัน เป็นเพื่อนกัน ดังนั้นพวกเขาจะเข้าใจความหลากหลาย และเรื่องนี้สามารถลดปัญหาความเหลื่อมล้ำได้

แล้วระบบการศึกษาของฟินแลนด์แบ่งเป็นอย่างไรบ้าง?

1. Early childhood ช่วงก่อนเข้าเรียน
เด็กในฟินแลนด์จะใช้ช่วงเวลานี้กว่า 6 ปีของชีวิต เรียนรู้ผ่านการ “เล่น”
โดยจุดประสงค์หลักคือ ไม่ใช่การเตรียมเด็กเข้าสู่การเรียนทางวิชาการ
หากแต่เป็น การส่งเสริมให้เด็กเกิดการพัฒนาทางด้านสังคมและสุขภาพมากกว่า
โดยทำผ่านการทำกิจกรรมต่างๆ

มาตรฐาน การ ศึกษา ของ ประเทศ ฟินแลนด์
Cr. Culture Trip

2. Basic education ซึ่งเป็นภาคบังคับ สำหรับเด็กอายุ 7-16 ปี

มาตรฐาน การ ศึกษา ของ ประเทศ ฟินแลนด์
Cr. Morocco World News

3. Upper education เด็กสามารถเลือกได้ว่าอยากเรียนภาคทั่วไป หรือ อาชีวศึกษา

มาตรฐาน การ ศึกษา ของ ประเทศ ฟินแลนด์
Cr. Luovi

4. Higher education ถ้าเทียบกับบ้านเราคือระดับมหาวิทยาลัย

มาตรฐาน การ ศึกษา ของ ประเทศ ฟินแลนด์
Cr. Education Technology

อ่านมาถึงตรงนี้
ถ้าลองมองย้อนกลับมาที่ประเทศไทย เราจะเห็นได้ว่ารูปแบบ หรือระดับชั้นของการเรียน เราแทบไม่ต่างกันเลยกับฟินแลนด์

ที่มี ชั้นอนุบาล, ประถม, มัธยม และมหาวิทยาลัย

แต่สิ่งที่ต่างอย่างเห็นได้ชัด คือ วิธีการในการสอนนักเรียน

ถ้าให้เปรียบ ระบบการศึกษาของเราเป็นเหมือน “ตะแกรง”
และนักเรียนเป็นเหมือน “ก้อนหิน” ที่มีขนาดต่างกัน

เรากำลังเอาตะแกรงไซซ์ที่รัฐบาลกำหนด มาร่อนเด็กออกไป โดยมองว่าเด็กเหล่านั้นไม่ใช่ก้อนหินที่รัฐบาลต้องการ