นโยบายการเงินแบบขยายตัว คือ

    1. ประเภทของนโยบายการคลัง  จำแนกตามลักษณะปัญหาเศรษฐกิจ
  1. นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary Fiscal Policy) คือ นโยบายการคลังโดยเพิ่มงบประมาณรายจ่ายและลดภาษี หรือการตั้งนโยบายขาดดุล การดำเนินนโยบายการคลังดังกล่าว ทำให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว การจ้างงานและรายได้ประชาชาติจะเพิ่มสูงขึ้น รัฐบาลจะใช้นโยบายดังกล่าวในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ รายจ่ายมวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีไม่เพียงพอ ที่จะทำให้เกิดภาวการณ์จ้างงานเต็มที่ได้
  2. นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary Fiscal Policy) คือ นโยบายการคลังที่ลดงบประมาณรายจ่ายและเพิ่มภาษี หรือการตั้งงบประมาณเกินดุล เพื่อให้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมลดลง อันจะนำไปสู่การลดปัญหาภาวะเงินเฟ้อ
    1. การใช้นโยบายการคลังในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ

การใช้นโยบายการคลังที่ใช้ขจัดช่วงห่างเงินเฟ้อ

นโยบายการเงินแบบขยายตัว คือ
นโยบายการเงินแบบขยายตัว คือ

นโยบายการคลังที่ใช้ในการแก้ปัญหาเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น คือ การลดการใช้จ่ายของรัฐบาล / การเพิ่มอัตราภาษี  ซึ่งมาตรการทั้งสองประการที่นำมาใช้ จะส่งกระทบต่อความต้องการใช้จ่ายมวลรวม  (DAE) แตกต่างกัน พิจารณาได้ ดังนี้

นโยบายการเงินแบบขยายตัว คือ


นโยบายการเงินแบบขยายตัว คือ


นโยบายการเงินแบบขยายตัว คือ

นโยบายการเงินแบบขยายตัว คือ

นโยบายการเงินแบบขยายตัว คือ

นโยบายการเงินแบบขยายตัว คือ

27 ก.ย. 2022

[ประเด็นสำคัญ] Monetary Policy หรือ นโยบายทางการเงิน
คือ นโยบายของธนาคารกลาง ที่ใช้ในการควบคุมปริมาณเงินในระบบ
ผ่านเครื่องมือต่าง ๆ โดยมีจุดประสงค์คือ เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

Monetary Policy หรือ นโยบายทางการเงิน
คือ นโยบายของธนาคารกลาง ที่ใช้ในการควบคุมปริมาณเงินในระบบ
ผ่านเครื่องมือต่าง ๆ โดยมีจุดประสงค์คือ เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

โดยทั่วไปแล้วเครื่องมือหลัก ๆ ที่ธนาคารกลาง ใช้ในการควบคุมปริมาณเงินในระบบก็จะมี

1. การดำเนินการผ่านตลาดการเงิน
เช่น การทำ QE หรือการอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบ, การทำ QT หรือการถอนเงินออกจากระบบ

2. การปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้นหรือลง

3. การปรับ Reserve Requirement หรือเงินสำรองส่วนที่ธนาคารต้องมีไว้ โดยห้ามนำไปปล่อยกู้

ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้ จะถูกปรับใช้ตามสถานการณ์ของเศรษฐกิจในช่วงเวลานั้น ๆ เช่น

ในช่วงที่เศรษฐกิจกำลังร้อนแรงมากเกินไป เช่น เศรษฐกิจในช่วงที่เงินเฟ้อพุ่งสูงกว่าระดับปกติ

ธนาคารกลางก็จะใช้เครื่องมือเหล่านี้ ในการปรับลดความร้อนแรงนั้นลง เช่น การถอนสภาพคล่องออกจากระบบ, การขึ้นอัตราดอกเบี้ย, การปรับเพิ่มสัดส่วนเงินสำรองของธนาคารพาณิชย์

ซึ่งเราจะเรียกนโยบายนี้ว่า Contractionary Monetary Policy หรือ “นโยบายการเงินแบบหดตัว”
ยกตัวอย่างการใช้นโยบายการเงินแบบหดตัว เช่น

- ธนาคารกลางทำการสั่งให้ธนาคารพาณิชย์จำเป็นต้องมี Reserve Requirement ในสัดส่วนที่สูงขึ้น
เพราะการมีสัดส่วนเงินสำรองที่มากขึ้น จะทำให้ธนาคารพาณิชย์สามารถปล่อยกู้ได้ในปริมาณที่น้อยลง

โดยทั่วไปแล้วนโยบายเหล่านี้ ก็จะส่งผลให้เงินในระบบมีปริมาณลดลง ซึ่งก็จะช่วยลดความร้อนแรงของเศรษฐกิจลงได้

กลับกัน ในช่วงที่เศรษฐกิจอยู่ในภาวะถดถอย เช่น ในช่วงที่ GDP ติดลบติดต่อกันหลายไตรมาส

ธนาคารกลางก็จะใช้เครื่องมือเหล่านี้ ในการกระตุ้นให้เศรษฐกิจมีการขยายตัว เช่น การอัดฉีดสภาพคล่องเข้าสู่ระบบ, การลดอัตราดอกเบี้ย, การปรับลดสัดส่วนเงินสำรองของธนาคารพาณิชย์

ซึ่งเราจะเรียกนโยบายนี้ว่า Expansion Policy หรือ “นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย”
ยกตัวอย่างการใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย เช่น

- ธนาคารกลางทำการเข้าซื้อพันธบัตรจากธนาคารพาณิชย์ ซึ่งจะส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์มีเงินสำรองที่สามารถนำไปปล่อยกู้ได้มากขึ้น

- ธนาคารกลางทำการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง ส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์ปรับดอกเบี้ยลดลงตาม
ดอกเบี้ยนโยบายที่ลดลง นั่นหมายถึงต้นทุนทางการเงินที่ต่ำลง ทำให้เหล่าผู้ประกอบการมีแรงจูงใจในการกู้เงินไปลงทุนมากขึ้นนั่นเอง

โดยทั่วไปแล้วนโยบายเหล่านี้ จะช่วยให้มีปริมาณเงินในระบบมากขึ้น
ซึ่งก็ช่วยกระตุ้นให้เศรษฐกิจมีการเติบโตได้

อย่างไรก็ตาม การที่เศรษฐกิจ จะขยับไปในทิศทางใดนั้น
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเงินของธนาคารกลางแต่เพียงผู้เดียว

ยังคงมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจด้วย
ยกตัวอย่างเช่น นโยบายการคลังจากฝั่งรัฐบาล หรือ Fiscal Policy ก็มีผลต่อทิศทางเศรษฐกิจของประเทศเช่นกัน

นโยบายการเงินแบบขยายตัว มีอะไรบ้าง

แบบขยายตัวจะท าโดยการปรับลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ซึ่งจะมีผลทาให้เงินสด สารองของธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้น และท าให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น การขอความร่วมมือให้ธนาคารพาณิชย์ปฏิบัติตาม (Moral suasion) เช่น การขอให้ธนาคารพาณิชย์ปล่อยสินเชื่อให้กับกิจกรรมทางเศรษฐกิจบางประเภทที่มี

นโยบาย การเงิน มีความสําคัญอย่างไร

นโยบายการเงินส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและราคาสินค้าและบริการ การปรับขึ้นลงของราคาสินค้าและบริการเรียกว่าอัตราเงินเฟ้อ โดยอัตราเงินเฟ้อที่ไม่สูงหรือต่ำเกินไปจะช่วยให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างยั่งยืน ธปท. จึงดำเนินนโยบายการเงินเพื่อให้อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับที่เหมาะสม พร้อมกับดูแลให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ และระบบการเงินมี ...

นโยบายการคลังแบบขยายตัว หมายถึงอะไร

1) นโยบายการคลังแบบขยายตัว (expansionary fiscal policy) คือ นโยบายการคลังที่เพิ่มรายจ่ายของภาครัฐบาล และลดอัตรา ภาษี (ใช้งบประมาณแบบขาดดุล) ใช้เมื่อภาวะเศรษฐกิจตกต ่า สินค้า และบริการของผู้ผลิตขายไม่ออก ระดับการว่างงานภายในประเทศสูง

นโยบายการเงิน (Monetary Policy) หมายถึงอะไร

Monetary Policy หรือ นโยบายทางการเงิน คือ นโยบายของธนาคารกลาง ที่ใช้ในการควบคุมปริมาณเงินในระบบ ผ่านเครื่องมือต่าง ๆ โดยมีจุดประสงค์คือ เพื่อสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ