สารสนเทศ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ชื่อหลักสูตร
          ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
          ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Information Studies

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
          ภาษาไทย
          ชื่อเต็ม:  ศิลปศาสตรบัณฑิต (สารสนเทศศึกษา)
          ชื่อย่อ:  ศศ.บ. (สารสนเทศศึกษา)
          ภาษาอังกฤษ
          ชื่อเต็ม: Bachelor of Arts (Information Studies)
          ชื่อย่อ:  B.A. (Information Studies)

จุดเด่นของหลักสูตร
          นิสิตหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา

  • เน้นการเรียนการสอนรายวิชาเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือก
  • จัดให้มีการเรียนการสอนรายวิชาการวิจัยพื้นฐานสำหรับวิชาชีพสารสนเทศ
  • นิสิตจะได้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพสารสนเทศทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

          บัณฑิตหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศ

  • บัณฑิตมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
  • บัณฑิตมีความสามารถในการทำรายการและจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศ
  • บัณฑิตสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการวิจัยไปใช้เพื่อการวิจัยกับศาสตร์อื่นได้
  • บัณฑิตสามารถบูรณาการศาสตร์ และนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
          หลักสูตรนี้ได้ออกแบบไว้เพื่อให้บัณฑิตสามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานที่ให้บริการสารสนเทศ  ตลอดจนการทำงานที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เช่น  อาจารย์  บรรณารักษ์  นักเอกสารสนเทศ  นักวิชาการสารสนเทศ  นักวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ นักจดหมายเหตุ เป็นต้น

รายละเอียด

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทยวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ภาษาอังกฤษBachelor of Science Program in Geo-informatics

2. ชื่อปริญญา

ภาษาไทย

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ภูมิสารสนเทศศาสตร์)

วท.บ. (ภูมิสารสนเทศศาสตร์)

ภาษาอังกฤษ

Bachelor of Science (Geo-informatics)

3. ระดับการศึกษา

ปริญญาตรี

4. สังกัดคณะ

คณะวิทยาศาสตร์

5. สังกัดภาควิชา/สาขาวิชา

วิทยาการคอมพิวเตอร์

6. วัตถุประสงค์

  1. มีความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
  2. สามารถประยุกต์งานเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
  3. มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และสามารถค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
  4. มีความสำนึกในหน้าที่รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และวิชาชีพสามารถทำงานเป็นกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5. ทัศนคติและจรรยาบรรณที่ดีต่อวิชาชีพ

7. กำหนดการเปิดสอน

จะเปิดดำเนินการเรียนการสอนหลักสูตรนี้ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1   ปีการศึกษา 2550 เป็นต้นไป

โครงสร้างหลักสูตร

หมวดวิชาศึกษาทั่วไปไม่น้อยกว่า30 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาบังคับ24 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาเลือก6 หน่วยกิตหมวดวิชาเฉพาะไม่น้อยกว่า97 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาแกน43 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน54 หน่วยกิต         1) วิชาบังคับ36 หน่วยกิต         2) วิชาเลือก18 หน่วยกิตหมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า6 หน่วยกิตรวมทั้งหมด133 หน่วยกิต

แผนการศึกษา

ปีที่ 1ภาคการศึกษาที่ 1จำนวนหน่วยกิต000 101

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3(3-0-6)

000 171

ชีวิตสุขภาพ

3(3-0-6)311 111

ชีววิทยาสำหรับวิทยาศาสตร์กายภาพ

3(3-0-6)

311 112

ปฏิบัติการชีววิทยาสำหรับวิทยาศาสตร์กายภาพ

1(0-3-2)**314 101

คณิตศาสตร์สำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ

3(3-0-6)

322 161

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขั้นแนะนำ

3(2-2-5)324 201

หลักมูลภูมิสารสนเทศศาสตร์

3(3-0-6)

รวม19 หน่วยกิตปีที่  1ภาคการศึกษาที่ 2จำนวนหน่วยกิต

000 102 

ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 1

3(3-0-6)

000 141

สิทธิพื้นฐานและประชาสังคม

3(3-0-3)

000 145

ภาวะผู้นำและการจัดการ

3(3-0-6)

000 170

การคิดขั้นสูงทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์      

3(3-0-6)

312 108

เคมีหลักมูล

3(3-0-6)

312 106

ปฏิบัติการเคมีทั่วไป

1(0-3-0)

322 112

การเขียนโปรแกรมขั้นแนะนำ

3(2-2-5)รวม19 หน่วยกิตปีที่ 2ภาคการศึกษาที่ 1จำนวนหน่วยกิต

000 103

ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 2

3(3-0-6)

315 106

ฟิสิกส์เบื้องต้น

3(3-0-6)

315 181

ปฏิบัติการฟิสิกส์ทั่วไป 1   

1(3-0-6)

316 204

สถิติเบื้องต้น

3(3-0-0)

**314 121

แคลคูลัสสำหรับวิทยาศาสตร์กายภาพ 1

3(3-0-6)

322 212

โครงสร้างข้อมูล

3(3-0-6)

324 xxx

วิชาเลือกในกลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

3รวม19 หน่วยกิตปีที่ 2ภาคการศึกษาที่ 2จำนวนหน่วยกิต

000 114

ภาษาไทยเพื่อการใช้งาน

3(3-0-6)

**319 231

วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

3(3-0-6)

**314 211

พีชคณิตเชิงเส้น 1

3(3-0-6)

322 336

ระบบฐานข้อมูลและการออกแบบ

3(3-0-6)

322 339

ปฏิบัติการระบบฐานข้อมูลและการออกแบบ

1(0-2-2)

324 202

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ขั้นแนะนำ

3(2-3-6)

**324 211

หลักมูลการรับรู้จากระยะไกล

2(2-3-6)รวม19 หน่วยกิตปีที่ 3ภาคการศึกษาที่ 1จำนวนหน่วยกิต

000 132

ชีวิตกับสุนทรียะ

3(3-0-6)

*319 203

ระบบนิเวศป่าไม้กับการอนุรักษ์

3(3-0-6)

*324 221

ธรณีวิทยาขั้นแนะนำ

2(2-0-6)

324 321

ภูมิศาสตร์กายภาพ

3(3-0-6)

324 411

การประมวลผลเชิงเลขของข้อมูลจากดาวเทียม

3(2-3-6)

xxx xxx

วิชาเลือกในกลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

3

รวม17 หน่วยกิตปีที่ 3ภาคการศึกษาที่ 2จำนวนหน่วยกิต

000 169

การคิดเชิงสร้างสรรค์

3(3-0-6)

324 322

ภูมิศาสตร์ของดิน

3(3-0-6)

324 491

สัมมนาทางภูมิสารสนเทศศาสตร์

1(1-0-2)

xxx xxx

วิชาเลือกในกลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

9 หน่วยกิต

xxx xxx

วิชาเลือกเสรี

3 หน่วยกิตรวม19 หน่วยกิตปีที่ 4ภาคการศึกษาที่ 1จำนวนหน่วยกิต

324 401

ภูมิสารสนเทศศาสตร์ประยุกต์

3(2-3-6)

324 421

การวางแผนการใช้ที่ดินขั้นแนะนำ

3(3-0-6)

324 494

ระเบียบวิธีวิจัยทางภูมิสารสนเทศศาสตร์

3(1-6-6)

xxx xxx

วิชาเลือกเสรี

3 หน่วยกิตxxx xxx

วิชาเลือกในกลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

3 หน่วยกิตรวม15 หน่วยกิตปีที่ 4ภาคการศึกษาที่ 2จำนวนหน่วยกิต

324 495

สหกิจศึกษา

6(0-36-18)รวม6 หน่วยกิต

รายวิชาที่เปิดสอน

วิชาบังคับ ทั้งหมด 31 หน่วยกิต

รหัสวิชาชื่อวิชาจำนวนหน่วยกิต319211วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม3(3-0-6)322212โครงสร้างข้อมูล3(3-0-6)324321ภูมิศาสตร์กายภาพ3(3-0-6)324401ภูมิสารสนเทศศาสตร์ประยุกต์3(2-3-6)324411การประมวลผลเชิงเลขของข้อมูลจากดาวเทียม3(2-3-6)324421การวางแผนการใช้ที่ดินขั้นแนะนำ3(3-0-6)324491สัมมนาทางภูมิสารสนเทศศาสตร์ I1(1-0-2)324494ระเบียบวิธีวิจัยทางภูมิสารสนเทศศาสตร์3(1-6-6)324495สหกิจศึกษา6(0-36-18)

วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต

รหัสวิชาชื่อวิชาจำนวนหน่วยกิต114404อุตุนิยมวิทยาเกษตร3(3-0-3)176340ระบบสิ่งแวดล้อมและการจัดการ3(3-0-3)319416การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม3(3-0-6)322321ระบบปฏิบัติการ4(3-2-7)322236การเขียนโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ3(2-2-5)322251การเขียนโปรแกรมจาวา3(2-2-5)322333ระบบฐานข้อมูลขั้นสูง3(3-0-6)322352การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี3(3-0-6)322372การวิเคราะห์และออกแบบระบบ3(3-0-6)324311รูปถ่ายทางอากาศและการแปลความหมาย3(2-3-6)324402หลักการทำแผนที่3(3-2-5)324412หลักการโฟโตแกรมเมตรี3(2-3-6)324413การรับรู้จากระยะไกลด้วยคลื่นไมโครเวฟขั้นแนะนำ3(3-0-6)664101ธรณีวิทยาสำหรับครู3(2-3-0)664102วิทยาศาสตร์ของโลก3(3-0-0)804315การวางผังเมือง3(3-0-0)962100เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น2(2-0-0)