มาตรฐานการปฏิบัติงาน โรงเรียน มัธยมศึกษา พ ศ 2552

จาก...เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

นายสเุ ทพ ชติ วงษ์

ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้จัดท�ำ
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา ส�ำหรับ
ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
โ ด ย ม า ต ร ฐ า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ด ้ า น ป ริ ม า ณ แ ล ะ
ด้านคุณภาพซึ่งครอบคลุมกลไกการบริหารโรงเรียน
ตามขอบข่ายและภารกิจการบริหารโรงเรียนสังกัด
สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

เอกสารมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียน
มธั ยมศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐ (ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒) ฉบบั น้ี
ใช้เป็นคู่มือประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียน
มัธยมศึกษา และน�ำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนา
การบริหารจัดการศึกษาให้มีคุณภาพสูงขึ้น เพื่อให้
ส� ำ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พ้ื น ฐ า น
และส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ใช้เป็นเครื่องมือ
ในการบริหารจัดการและสนับสนุนให้โรงเรียนพัฒนา
เข้าสู่มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษาได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพตามบริบท
ของแต่ละโรงเรียน รวมท้ังจะท�ำให้ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานได้ทราบข้อมูลสารสนเทศ น�ำมาสู่การวางแผนสนับสนุนได้ตรงกับความต้องการท่ีจะยกระดับ
คณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานสูงเป็นล�ำดับ ๆ ไป

ขอขอบคุณคณะท�ำงาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ร่วมกันจัดท�ำมาตรฐานการปฏิบัติงาน
โรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ (ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒) ฉบบั นใี้ หเ้ สร็จสมบรู ณ์ และหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ ว่า
เอกสารฉบับน้ีจะเป็นเคร่ืองมือหนึ่งของการยกระดับการบริหารจัดการโรงเรียนมัธยมศึกษาให้มีมาตรฐาน
การปฏิบัติงานอย่างเหมาะสมตอ่ ไป

(นายสเุ ทพ ชิตยวงษ์)
เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

สารบญั

ค�ำชแี้ จง……………………………………..……………………………………..………………..….……..…….......…….. ๑
ขอบขา่ ยงาน……………………………………..………………………………………………..…..……..…………......... ๓
งานแผนงานและประกันคุณภาพ…………………………………..………………...................…….. ๕
งานวิชาการ……………………………………..………….………….…………..………..........……………. ๑๒

งานกิจการนกั เรียน………………………………………………….…………..………..........……………. ๓๒

งานบคุ คล…………………………………………………….……….…………….……….........………….... ๔๓

งานธุรการ……………………………………..…………………….……………..……….........……………. ๔๙

งานการเงนิ และพสั ดุ……………………………………………….…………………….........……………. ๕๕

งานบรกิ ารอาคารสถานที่และสภาพแวดลอ้ ม…………….…………….……........………………. ๖๔

งานชุมชนและภาคีเครอื ขา่ ย…………………………………….……………….........…………………. ๘๓
ภาคผนวก……………………………………………………………………………….…………………........................ 89
ภาคผนวก ก……………………………………………………………………………….………........…………. 90
เกณฑป์ รมิ าณ………………………………………………………………..........………....................... 90
เกณฑป์ ริมาณอาคารเรยี น อาคารประกอบและสิ่งก่อสรา้ งอนื่ ๆ……...……...........….….. 93

เกณฑ์ปรมิ าณวัสดุ/ครุภัณฑท์ คี่ วรมีในห้องพิเศษและหอ้ งบรกิ ารต่าง ๆ.....….........….. 101
ภาคผนวก ข…………………………………………………………………………....…...…………............ 161
แนวทางการบ�ำรงุ รกั ษาวัสดุ - อปุ กรณ์……………………..……………............................... 161
แนวทางการประเมนิ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร……………………………………………………......……….. 179
ภาคผนวก ค……………………………………………………………………….….………………....………. 182
การจดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นส�ำหรบั โรงเรียนมธั ยมศึกษา................................. 182
ภาคผนวก ง……………………………………………………………………………..…………….....………. 188
การปฏริ ูปการเรยี นรูเ้ พ่อื สรา้ งความพร้อมในการประกอบอาชพี แก่เยาวชน:
“การเตรียมความพรอ้ มด้านอาชพี ของนักเรยี นระดบั มัธยมศึกษา”............................. 188
ภาคผนวก จ………………………………………………………………………………………...……....…… 195
แบบประเมนิ /รายงานการประเมนิ มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา........ 195

ค�ำชีแ้ จง

การใช้มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐
(ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้โรงเรียนใช้คู่มือน้ีเป็นเคร่ืองมือประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา
และน�ำผลการประเมินไปใชใ้ นการปรับปรงุ พัฒนาการบรหิ ารจดั การศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพสูงขึน้
๒. เพื่อให้ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการและสนับสนุนให้โรงเรียนพัฒนาเข้าสู่มาตรฐานการปฏิบัติงาน
โรงเรยี นมัธยมศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพและประสทิ ธภิ าพตามบรบิ ทของแต่ละโรงเรยี น

สาระสำ� คญั
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒) ฉบับน้ี
แบง่ ออกเป็น ๒ ดา้ น คือ
๑. มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านปริมาณ น�ำไปใช้เพื่อให้โรงเรียนได้ทราบถึงเกณฑ์การจัดสรร
ต่าง ๆ ท่คี วรจะเปน็
๒. มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านคุณภาพ น�ำไปใช้เพ่ือประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ท่ีเปน็ ความจ�ำเป็นพ้นื ฐานของโรงเรียนมัธยมศกึ ษา

โดยมาตรฐานการปฏิบัติงานทั้ง ๒ ด้านมีเน้ือหาสาระส�ำคัญครอบคลุมกลไกการบริหารโรงเรียน
ตามขอบข่ายและภารกิจการบริหารโรงเรียนสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่
การบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไป ซึ่งประกอบด้วย
เรอ่ื งต่าง ๆ ดังนี้

๑. งานแผนงานและประกันคุณภาพ
๒. งานวิชาการ
๓. งานกิจการนกั เรียน
๔. งานบคุ คล
๕. งานธุรการ
๖. งานการเงินและพสั ดุ
๗. งานบริการอาคารสถานท่แี ละสภาพแวดล้อม
๘. งานชุมชนและภาคเี ครอื ข่าย1
ในแต่ละเรื่องมีแนวทางการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงาน โดยแบ่งออกเป็นระดับคุณภาพ
๕ ระดบั ถา้ มีระดับคณุ ภาพ ๓ ขน้ึ ไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

หมายเหตุ ภาคีเครือข่าย ๑ หมายถึง องค์กรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ท้องถิ่นหรือบุคคล ท่ีมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือ
และสนบั สนนุ การจดั การศึกษาของโรงเรียนทงั้ ดา้ นวชิ าการ ทรพั ยากร และการบริการ เพอื่ ใหโ้ รงเรียนมีคณุ ภาพสูงสดุ

มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 1

แนวทางการใชม้ าตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐
(ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

ส�ำหรบั โรงเรยี น
๑. ศึกษามาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

ทัง้ ๒ ดา้ นอย่างละเอียด
๒. ส�ำรวจสภาพของโรงเรียนตามมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ โรงเรียนได้ด�ำเนินการตามภารกิจและ

ตัวช้วี ดั ทก่ี �ำหนดไวอ้ ย่างไร มีส่ิงใดที่ควรปรับปรุงแกไ้ ข
๓. ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไข พัฒนาคุณภาพของโรงเรียนตามความเหมาะสมและตามบริบท

ของโรงเรียน หากมีความจ�ำเป็นจะต้องด�ำเนินการโดยขอความสนับสนุนจากฝ่ายบริหารท่ีนอกเหนือ
ระดับโรงเรียนก็ควรด�ำเนินการอยา่ งเร่งดว่ น

๔. ตระหนักและเห็นความส�ำคัญของข้อก�ำหนดในมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๐ (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒) ฉบับน้ี เป็นเคร่ืองมือเสริมสร้างความพร้อมหรือตรวจสอบตนเอง
ให้มีปัจจัยหรือกิจกรรมการปฏิบัติงานเพียงพอในระดับที่เหมาะสมและมีคุณภาพ จนมั่นใจว่าส่งผล
ตอ่ การประกันคณุ ภาพภายในโรงเรยี น

สำ� หรับคณะกรรมการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียน
๑. ตอ้ งมีคณะกรรมการประเมินมาตรฐานโรงเรยี นอย่างน้อย ๓ คน
๒. ผู้ประเมนิ จะต้องศึกษารายละเอยี ดของแตล่ ะภารกจิ และตัวช้วี ัด วิธีการประเมิน และการใหร้ ะดับ
คณุ ภาพของแตล่ ะระดบั โดยท�ำความเข้าใจให้ชดั เจนก่อนท�ำการประเมนิ
๓. การให้ระดับคุณภาพแตล่ ะรายการ จะตอ้ งมีเหตุผลและมหี ลักฐานหรอื ขอ้ มลู สนบั สนนุ อย่างเพยี งพอ
หากมีขอ้ สงสยั หรือไมแ่ นใ่ จ ก็ให้คน้ หาข้อมลู มาสนับสนนุ เพม่ิ เตมิ จนมน่ั ใจกอ่ นแลว้ จึงใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพ
๔. คณะกรรมการประเมินจะต้องท�ำใจเป็นกลาง ไม่ประเมินโดยใช้ความรู้สึกส่วนตัว
มาเป็นองค์ประกอบในขณะท�ำการประเมิน ทั้งนี้เพ่ือให้ผลการประเมินเป็นไปด้วยความถูกต้องแม่นย�ำ
และตรงตามขอ้ เทจ็ จรงิ มากท่ีสดุ
๕. การให้ระดับคุณภาพของคณะกรรมการประเมินในแต่ละรายการ ไม่ควรใช้วิธีการหาค่าเฉล่ีย
จากคะแนนของคณะกรรมการ แต่ควรใช้วิธีหาข้อตกลงร่วมกันในแต่ละรายการว่าควรได้ระดับคุณภาพใด
เปน็ ขอ้ ยุติ
๖. การประเมินมาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี น ไม่มีวตั ถปุ ระสงคจ์ ะจบั ผิด หรอื แสวงหาขอ้ บกพร่อง
ของผู้บริหารโรงเรียนแต่ประการใด แต่ต้องการทราบข้อมูลท่ีแท้จริงว่า ในขณะท่ีท�ำการประเมินน้ัน
โรงเรียนมีรายละเอียดหรือภารกิจและตัวชี้วัดด้านใดท่ีน�ำไปพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานเป็นอย่างดีแล้ว
และมีด้านใดที่ยังต้องพัฒนาให้สมบูรณ์ให้ดียิ่งขึ้นไปอีก เพ่ือผู้บริหารโรงเรียนและส�ำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะได้ร่วมมือกันแก้ไขข้อบกพร่องที่ยังไม่สมบูรณ์
ให้ดยี งิ่ ขึน้ ไปอีก

๗. ผลการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา จะสมบูรณ์ได้ก็ต่อเม่ือโรงเรียน
หรือ สหวิทยาเขต หรือเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัด ได้น�ำ
ผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาโรงเรียน หรือปรับปรุงการบริหารจัดการของโรงเรียนให้เกิดประสิทธิภาพ
และเกิดประสิทธผิ ลตอ่ ไป
2 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

ขอบข่ายงาน

การบรหิ ารจดั การมธั ยมศึกษาโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา

๑. งานแผนงานและประกันคุณภาพ (๗ ภารกจิ ๑๐ ตัวชว้ี ดั )

๑.๑ การวางแผนพฒั นาโรงเรียน
๑.๒ การจัดองคก์ ร
๑.๓ การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑.๔ การจดั ระบบการประกันคุณภาพภายใน
๑.๕ การคำ� นวณตน้ ทนุ ผลผลิต
๑.๖ การควบคุมภายใน
๑.๗ การประเมินผลการดำ� เนนิ งานแผนงานและประกันคุณภาพ

๒. งานวิชาการ (๗ ภารกจิ ๓๖ ตวั ชว้ี ัด)

๒.๑ การวางแผนงานวิชาการ

๒.๒ การบริหารงานวชิ าการ
๒.๓ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
๒.๔ การพัฒนาและสง่ เสรมิ ทางด้านวชิ าการ
๒.๕ การวัดผล ประเมนิ ผลการเรยี นและงานทะเบยี นนกั เรยี น
๒.๖ การแนะแนวการศึกษา
๒.๗ การประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งานวชิ าการ

๓. งานกิจการนกั เรยี น (๖ ภารกิจ ๑๘ ตวั ชี้วดั )

๓.๑ การวางแผนงานกิจการนักเรียน

๓.๒ การบริหารงานกิจการนักเรยี น
๓.๓ การส่งเสริมพฒั นาให้นักเรยี นมวี นิ ยั คุณธรรม จริยธรรม
๓.๔ การดำ� เนินงานระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น
๓.๕ การดำ� เนนิ การส่งเสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น
๓.๖ การประเมนิ ผลการด�ำเนินงานกจิ การนกั เรียน

๔. งานบุคคล (๓ ภารกิจ ๗ ตัวช้วี ดั )
๔.๑ การบริหารงานบุคคล

๔.๒ การบรหิ ารงานทะเบียนและสถิตขิ ้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
๔.๓ การประเมินผลการด�ำเนนิ งานบคุ คล

มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 3

๕. งานธุรการ (๔ ภารกิจ ๑๐ ตวั ชี้วัด)
๕.๑ การวางแผนงานธรุ การ

๕.๒ การบริหารงานธุรการ
๕.๓ การบริหารงานสารบรรณ
๕.๔ การประเมินผลการด�ำเนินงานธุรการ

๖. งานการเงินและพสั ดุ (๔ ภารกจิ ๑๓ ตัวชีว้ ัด)
๖.๑ การบรหิ ารการเงนิ

๖.๒ การบริหารการเงนิ และบญั ชี
๖.๓ การบรหิ ารงานพัสดแุ ละสนิ ทรพั ย์
๖.๔ การประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานการเงนิ และพัสดุ

๗. งานบริการอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดล้อม (๑๑ ภารกิจ ๒๙ ตัวชี้วดั )
๗.๑ การบรกิ ารอาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อม

๗.๒ การบรกิ ารอาคารเรียน
๗.๓ การบริการห้องเรียน
๗.๔ การบรกิ ารหอ้ งบริการ
๗.๕ การบรกิ ารห้องพิเศษ
๗.๖ การบรกิ ารอาคารประกอบ
๗ ๗ การให้บรกิ ารนำ้� ดม่ื
๗.๘ การส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามัย
๗.๙ การสือ่ สารและการประชาสมั พนั ธ์
๗.๑๐ การสร้างและเผยแพรเ่ กยี รตปิ ระวัตขิ องโรงเรียน
๗.๑๑ การประเมนิ ผลการดำ� เนินงานอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม

๘. งานชมุ ชนและภาคเี ครือขา่ ย (๕ ภารกจิ ๘ ตวั ช้ีวัด)
๘.๑ การสรา้ งความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรยี นกบั ชมุ ชน และภาคเี ครอื ขา่ ย

๘.๒ การให้บริการชมุ ชน
๘.๓ การมสี ่วนร่วมในการพฒั นาชมุ ชน
๘.๔ การไดร้ ับการสนบั สนุนจากชุมชน
๘.๕ การประเมนิ ผลการด�ำเนินงานชุมชนและภาคเี ครือข่าย

4 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

งานแผนงานและประกนั คณุ ภาพ

มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 5

งานแผนงานและประกนั คณุ ภาพ

แผน คือ สิ่งท่ีแสดงถึงความตั้งใจล่วงหน้าท่ีจะด�ำเนินการใด ๆ ภายในระยะเวลาหน่ึงเพื่อให้บรรลุ
วตั ถปุ ระสงค์มาตรฐานท่ีวางไว้ ผลทีเ่ กิดจากการวางแผนส่วนหนึง่ จะปรากฏในรูปเอกสารเพือ่ ใช้เปน็ หลกั ฐาน
ยืนยนั การตดั สินใจ ซึง่ จะระบถุ ึงสิ่งทีจ่ ะกระทำ� เหตผุ ลที่เลอื กทำ� วิธกี ารด�ำเนินการ ผู้ดำ� เนนิ งาน และสถานท่ี
ดำ� เนินงานดา้ นการศึกษา การวางแผน หมายถงึ การก�ำหนดความตอ้ งการ วธิ กี ารดำ� เนนิ การและผลทีค่ าดวา่
จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยใช้หลักวิชา เหตุผล มีข้อมูลประกอบ มีการน�ำเสนอปัญหาเพื่อขจัดอุปสรรค
ท่ีจะเกิดกับเป้าหมายข้างหน้า ท�ำให้ผู้ปฏิบัติรู้ว่าจะท�ำอะไร ท่ีไหน เมื่อใด กับใคร ท�ำอย่างไร และ
ท�ำเพ่ืออะไรอย่างชัดเจน ซึ่งจะน�ำไปสู่การปฏิบัติงานท่ีถูกต้อง และบรรลุวัตถุประสงค์มาตรฐานตัวช้ีวัด
การวางแผนจึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่งเปรียบเสมือนกับเข็มทิศ แผนท่ีเดินทาง หรือพิมพ์เขียว (Blue Print)
เป็นยานพาหนะที่น�ำไปสู่การเปล่ียนแปลงอย่างมีระบบ หากปราศจากการวางแผนท่ีดีระบบก็ไม่สามารถ
ปรับเปล่ียนตัวให้เข้ากับอิทธิพลของส่ิงแวดล้อมที่แตกต่างกันได้ จึงมีค�ำกล่าวว่า “การวางแผนท่ีดีย่อมน�ำ
ไปสู่ความส�ำเร็จกว่าคร่ึง (Well begun is half done)” หรืออาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่าการวางแผนท่ีดี
มีความส�ำคัญอย่างย่ิงต่อความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กรในประการต่าง ๆ เช่น การท�ำงานของ
บุคลากรเกิดการประสานงานซ่ึงกันและกัน ช่วยให้เกิดการประหยัดทางการบริหาร ทั้ง คน เงิน วัสดุ และ
การจัดการ ช่วยให้การปฏิบัติงานส�ำเร็จลุล่วงไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เป็นการกระจายงาน
แบ่งเบาภาระความรับผิดชอบของผู้บริหาร สามารถระดมสรรพก�ำลังทรัพยากร (Mobilization of
resources) ได้ตามความต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหาร สามารถทราบปัญหาอุปสรรคท่ีเกิด
จากการปฏบิ ตั ิงานตามขัน้ ตอนของแผนไดอ้ ย่างชดั เจน (Plan Implementation) สามารถด�ำเนินการแก้ไข
ปรับปรุงไดท้ ันตอ่ เหตกุ ารณ์ ค้มุ คา่ และลดความสูญเปลา่
๑. การวางแผนพฒั นาโรงเรียน
๑.๑ การกำ� หนดทศิ ทางการพัฒนาโรงเรยี น
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์

การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ
๑ มีการวิเคราะห์สภาพปัจจบุ ันปญั หาของโรงเรียน
๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมีการก�ำหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และเปา้ ประสงคข์ องโรงเรียน
๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วข้องมสี ว่ นร่วมในการก�ำหนดวสิ ัยทศั น์
พนั ธกิจ และเปา้ ประสงค์ของโรงเรยี น
๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และนำ� วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ และเปา้ ประสงค์ของโรงเรียน
มาจัดทำ� แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะ ๓ - ๕ ปี และจดั ท�ำตัวชวี้ ดั
๕ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๔ และมีการผา่ นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา
เผยแพร่ให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งทราบและนำ� สู่การปฏิบตั ิ

6 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

๑.๒ แผนปฏิบตั ิการของโรงเรียน
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์

การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ

๑ มกี ารกำ� หนดผูร้ บั ผิดชอบและมีแผนปฏบิ ตั ิการเป็นลายลกั ษณ์อักษร

๒ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๑ และมีแผนปฏบิ ตั กิ ารยงั ตอบสนองทิศทางการพัฒนาโรงเรียน
ท่กี �ำหนดไว้ในขอ้ ๑.๑

๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ และมีการก�ำหนดการใช้เงนิ ในแผนปฏบิ ัตกิ ารอย่างถกู ตอ้ ง
เหมาะสม คุ้มค่าและตรวจสอบได้

๔ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการดำ� เนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการของโรงเรยี น

๕ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๔ และมกี ารก�ำกับ ติดตามและประเมินผล

๒. การจัดองค์กร

๒.๑ การจดั ท�ำโครงสรา้ งการบริหารโรงเรยี น
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทเี่ กี่ยวข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์
๓. สงั เกตหน่วยงานในโรงเรียน

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มีการจัดองค์กรหรอื จัดท�ำโครงสร้างการบรหิ ารโรงเรยี น

๒ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๑ และมีหนว่ ยงานตามโครงสรา้ งทโ่ี รงเรยี นกำ� หนด

๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารก�ำหนดขอบขา่ ยของงานแตล่ ะงานใหส้ อดคลอ้ ง
กับสภาพปัจจบุ นั และบริบทของโรงเรียน

๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการประชาสัมพนั ธใ์ หผ้ ทู้ เ่ี ก่ียวข้องทราบ

๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมีการดำ� เนินงานเป็นไปตามโครงสรา้ งทโี่ รงเรยี นกำ� หนด

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 7

๒.๒ การกำ� หนดหน้าท่ีความรบั ผิดชอบและมอบหมายงาน
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มกี ารก�ำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ

๒ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมีการก�ำหนดหน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบครบทุกงาน
ตามโครงสร้างการบริหารท่โี รงเรยี นกำ� หนดไวเ้ ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร

๓ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ และมีการมอบหมายงานเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรและ
เปน็ ปัจจบุ นั

๔ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารชี้แจงประชาสัมพันธ์ให้ผทู้ ่เี กย่ี วขอ้ งทราบ

๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารตดิ ตามและตรวจสอบผลการปฏบิ ัติงานของผทู้ ี่
ได้รบั มอบหมาย

๓. การจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๓.๑ การดำ� เนินงานด้านระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรที่เก่ียวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มีการด�ำเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศและแตง่ ตั้งผรู้ บั ผิดชอบเปน็ ลายลกั ษณ์
อกั ษร

๒ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๑ และมีการรวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูลอย่างถูกตอ้ งและ
เป็นปจั จบุ นั

๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้บรกิ ารขอ้ มูล
สารสนเทศ

๔ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใชเ้ พอ่ื การบรหิ ารและ
การจดั การเรียนรู้

๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมีการเผยแพร่สารสนเทศใหห้ นว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง
และสาธารณชนทราบ

8 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

๓.๒ การพัฒนาระบบงานสารสนเทศ
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มีการด�ำเนนิ งานพฒั นาระบบงานสารสนเทศภายในโรงเรียน

๒ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๑ และมกี ารพฒั นาเจา้ หน้าที่ดำ� เนินงานดา้ นสารสนเทศ

๓ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ และมกี ารน�ำเทคโนโลยมี าใช้ในการดำ� เนนิ งาน

๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารจัดตง้ั ศูนยส์ ารสนเทศภายในโรงเรยี น

๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมีการจดั และพฒั นาระบบเครอื ข่ายงานสารสนเทศ
ของโรงเรยี น

๔. การจัดระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานเชิงประจักษ์

การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รบั ผดิ ชอบและมแี ผนการดำ� เนินงาน
เป็นลายลักษณอ์ กั ษร

๒ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๑ และได้จัดทำ� มาตรฐานคุณภาพ ตวั ชว้ี ัดระดบั โรงเรยี น
และสอดคล้องกบั มาตรฐานของหนว่ ยงานต้นสงั กัด

๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และทุกภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการด�ำเนนิ งานการพัฒนาไปสู่
มาตรฐานและตัวชว้ี ัดที่กำ� หนด

๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารประเมนิ คุณภาพภายใน และจัดทำ� รายงาน
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาประจ�ำปี

๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมีการน�ำผลการประเมินคุณภาพภายในไปใช้
ในการวางแผนและพฒั นาคณุ ภาพของโรงเรียนอย่างต่อเนอ่ื ง

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรยี นมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562) 9

๕. การค�ำนวณตน้ ทุนผลผลติ
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรที่เกย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์

การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ

๑ มีการคำ� นวณตน้ ทนุ ผลผลิต

๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารแต่งตงั้ ผรู้ ับผิดชอบเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร

๓ ได้ระดับคุณภาพ ๒ และมกี ารน�ำเทคโนโลยมี าใช้ในการคำ� นวณต้นทนุ ผลผลติ

๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารวเิ คราะหค์ วามคมุ้ คา่ ของตน้ ทุนผลผลิต

๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารนำ� ผลการวเิ คราะห์ไปใชป้ รับปรุงพฒั นาคุณภาพ
การศึกษาในโรงเรียน

๖. การควบคมุ ภายใน

วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารแต่งตั้งคณะกรรมการเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร

๒ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๑ และมีการดำ� เนินการควบคมุ ภายในตามหลักเกณฑ์มาตรการ
และวิธีการท่คี ณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดิน และคณะกรรมการการศกึ ษา
ข้ันพ้ืนฐานกำ� หนด

๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ และมีหลักฐานใหต้ รวจสอบได้

๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมกี ารรายงานผลต่อหน่วยงานต้นสังกดั และ
สำ� นักงานคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ภูมิภาค

๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมกี ารพฒั นาให้เปน็ ระบบและอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

10 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

๗. การประเมินผลการดำ� เนนิ งานแผนงานและประกันคุณภาพ
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรที่เก่ยี วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานเชิงประจักษ์

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการประเมินผลการด�ำเนินงานแผนงานและประกนั คณุ ภาพตามมาตรฐานและ
ตวั ชว้ี ดั โดยมหี ลกั ฐานให้ตรวจสอบได้

๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมีการประเมนิ ผลในระดบั หน่วยงานยอ่ ยภายในโรงเรยี น

๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ และมีการประเมนิ ในรูปแบบของคณะกรรมการ

๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมกี ารวเิ คราะห์ผลการประเมนิ การดำ� เนินงานแผนงาน
และประกันคณุ ภาพตามมาตรฐานและตัวชวี้ ดั

๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารน�ำผลการวเิ คราะหไ์ ปใช้ในการปรบั ปรงุ พัฒนา
การดำ� เนนิ งานแผนงานและประกนั คณุ ภาพตามมาตรฐานและตัวชวี้ ดั

มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 11

งานวชิ าการ

12 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

งานวิชาการ

การบริหารงานวิชาการ เป็นหัวใจของสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นงานท่ีจะต้อง
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะในศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ือให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต การบริหาร
งานวชิ าการเปน็ การบริหาร ที่ให้ความส�ำคัญกบั ผูเ้ รยี น และกระบวนการจดั การศึกษาอยา่ งชัดเจน บทบาท
ส�ำคัญของสถานศึกษาต้องยึดหลักตอบสนองต่อผู้เรียนโดยยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคน มีความรู้ความสามารถ
และพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผูเ้ รยี นสำ� คัญทีส่ ดุ การจัดการเรียนการสอน ต้องจัดกจิ กรรมส่งเสริมใหเ้ หมาะสม
กับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน มุ่งเน้นประเมินพัฒนาการของผู้เรียน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
การเข้าร่วมกิจกรรม วัดผลและประเมินผลผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลายเหมาะสมกับระดับและรูปแบบ
การจัดการศึกษา ดังนั้น การจะบริหารงานวิชาการให้ประสบความส�ำเร็จและมีประสิทธิภาพต้องมี
มาตรฐานการปฏิบัตงิ านเปน็ กรอบในการดำ� เนินการ

๑. การวางแผนงานวิชาการ
๑.๑ การรวบรวมข้อมูลและจดั ทำ� ระเบียบแนวปฏิบัตเิ กยี่ วกับงานวชิ าการ
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบุคคลท่เี กี่ยวข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ

การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ

๑ มีการรวบรวมข้อมลู และจัดทำ� ระเบียบและแนวปฏิบัตขิ องทางราชการเกี่ยวกบั
งานวชิ าการให้เปน็ ระบบ สะดวกในการนำ� ไปใช้ และเป็นปจั จบุ นั

๒ มรี ะดับคณุ ภาพ ๑ และมีการก�ำหนดผู้รบั ผดิ ชอบในการน�ำระเบยี บและ
แนวปฏิบตั เิ กย่ี วกบั งานวชิ าการไปใช้

๓ มรี ะดับคณุ ภาพ ๒ และมีการน�ำระเบยี บและแนวปฏบิ ัตไิ ปใชอ้ ยา่ งเป็นระบบ

๔ มีระดบั คุณภาพ ๓ และมีการจัดท�ำเป็นเอกสารคู่มอื ครู / คมู่ อื นกั เรียน /
คู่มอื ผปู้ กครอง

๕ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการเผยแพรใ่ หค้ รู นกั เรยี น ผู้ปกครองและผเู้ กย่ี วข้อง
ทราบด้วยวิธีการทหี่ ลากหลาย

มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 13

๑.๒ การจดั ทำ� แผนงานวิชาการ
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบบุ คุ คลท่ีเก่ียวข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานท่ปี รากฏ

การให้ระดบั คุณภาพ รายการ

๑ มีการจดั ท�ำและมแี ผนงานวิชาการท่ีมีคณุ ภาพตามบรบิ ทของโรงเรียน

๒ มีระดบั คณุ ภาพ ๑ และมคี ณะกรรมการท่ีรับผดิ ชอบปฏิบัตติ ามแผนอยา่ งครบถว้ น

๓ มรี ะดับคณุ ภาพ ๒ และมีการดำ� เนนิ การตามแผนงานวชิ าการอย่างเปน็ ขั้นตอน
ทีก่ ำ� หนด

๔ มรี ะดบั คุณภาพ ๓ และมีการก�ำกบั ติดตาม และประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน
ตามแผนงานวิชาการเปน็ ระยะอย่างตอ่ เนื่อง

๕ มีระดบั คุณภาพ ๔ และมกี ารสรปุ วเิ คราะหก์ ารดำ� เนนิ งานเพอ่ื นำ� ไปปรบั ปรุง
พัฒนางานวชิ าการ และเผยแพรแ่ กผ่ ู้เกย่ี วข้อง

๑.๓ การจัดทำ� สารสนเทศงานวชิ าการ
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบุคคลทเ่ี ก่ยี วข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ

การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลดา้ นวิชาการอย่างรอบด้าน

๒ มรี ะดับคุณภาพ ๑ และมีการจดั ทำ� เป็นขอ้ มูลสารสนเทศทส่ี มบูรณ์ ครอบคลุม
ขอบข่ายของงานวิชาการ

๓ มีระดบั คณุ ภาพ ๒ และเป็นสารสนเทศทีถ่ กู ตอ้ ง เปน็ ปัจจุบัน สะดวกตอ่ การใช้งาน

๔ มรี ะดับคุณภาพ ๓ และมกี ารน�ำสารสนเทศไปใช้ประโยชนใ์ นการบริหารงาน
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๕ มรี ะดบั คุณภาพ ๔ และมกี ารนำ� เทคโนโลยมี าใช้ในการจดั เก็บขอ้ มูลสารสนเทศ
อยา่ งตอ่ เนื่อง

14 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

๑.๔ การรับนกั เรยี น
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ คลท่ีเกี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทีป่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารวางแผนการรับนักเรียนโดยวิเคราะห์ข้อมูลจากบรบิ ทของโรงเรียนและ
นโยบายของต้นสงั กดั

๒ มีระดบั คณุ ภาพ ๑ และมีผรู้ บั ผิดชอบ /คณะท�ำงานในแต่ละกิจกรรม
ของแผนการรบั นกั เรยี น

๓ มีระดับคณุ ภาพ ๒ และมีการจัดท�ำประกาศแนวปฏิบตั แิ ละแผนการรับนักเรยี น
เผยแพรใ่ ห้สาธารณชนทราบ

๔ มีระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการสร้างความเขา้ ใจให้ ครู นักเรียน ผปู้ กครอง ชมุ ชน
และผเู้ ก่ียวขอ้ งทราบอยา่ งชัดเจน

๕ มรี ะดับคณุ ภาพ ๔ และมีการสรปุ ผลการดำ� เนนิ งานเพ่ือน�ำข้อมูลมาปรับปรงุ /
พัฒนา

๒. การบริหารงานวชิ าการ
๒.๑ การก�ำหนดหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบ
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ คลท่ีเก่ยี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการกำ� หนดโครงสร้างการบริหารงาน และขอบข่ายงานวิชาการไวอ้ ย่างชัดเจน

๒ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมีการจดั ทำ� แผนภูมโิ ครงสรา้ งการบรหิ ารงานวิชาการ
แสดงไว้ใหค้ รู ผ้ปู กครอง นักเรียน และผ้เู ก่ียวข้องทราบอยา่ งชัดเจน

๓ มรี ะดับคุณภาพ ๒ และมกี ารจัดทำ� พรรณนางานตามโครงสร้างการบรหิ ารงาน
วชิ าการอยา่ งครบถ้วน

๔ มีระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการมอบหมายผรู้ ับผดิ ชอบงานตามโครงสรา้ ง
การบริหารงานวิชาการอยา่ งครบถว้ น

๕ มีระดับคุณภาพ ๔ และมกี ารประชาสัมพันธ์เผยแพรใ่ ห้ผเู้ กีย่ วขอ้ งทราบ

มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 15

๒.๒ การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ คลที่เกย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานทปี่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารกำ� หนดวสิ ยั ทัศน์ เป้าหมาย และจดุ เนน้ ของหลักสูตรสถานศกึ ษา
ทสี่ อดคล้องกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานและบริบทของโรงเรยี น

๒ มรี ะดบั คุณภาพ ๑ และมีการจดั ทำ� โครงสร้างหลักสูตรที่สอดคลอ้ งกบั วิสัยทศั น์
เป้าหมาย จุดเนน้ ของหลักสตู รสถานศกึ ษา และเหมาะกับศักยภาพของผเู้ รยี น

๓ มีระดับคุณภาพ ๒ และมกี ารนำ� หลกั สตู รสถานศกึ ษาไปใชใ้ นระดับช้นั เรยี น

๔ มรี ะดับคุณภาพ ๓ และมีการกำ� กบั ติดตาม และประเมนิ ผลการใชห้ ลักสูตร
อยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง

๕ มรี ะดับคุณภาพ ๔ และน�ำผลการประเมนิ การใชห้ ลักสูตรไปวิเคราะห์ วางแผน
พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาให้มคี ุณภาพย่ิงขึน้

๒.๓ การพฒั นาหลักสตู รความสามารถพิเศษนกั เรียน
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ คลที่เกยี่ วข้อง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานทป่ี รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการวเิ คราะหจ์ ดุ เด่น และโอกาสของนักเรยี นที่จะน�ำมาพัฒนาเป็นหลกั สูตร
ความสามารถพเิ ศษ

๒ มีระดับคณุ ภาพ ๑ และมกี ารจัดท�ำหลักสตู รเพ่อื พฒั นาความสามารถพิเศษ
ของนกั เรยี นท่ีเหมาะสม และประชาสัมพนั ธใ์ หผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งทราบ

๓ มีระดบั คณุ ภาพ ๒ และมีการน�ำหลักสตู รความสามารถพิเศษที่พัฒนาไปใช้
โดยมกี ารกำ� หนดผู้รบั ผดิ ชอบอยา่ งชัดเจน

๔ มีระดับคณุ ภาพ ๓ และมกี ารก�ำกบั ติดตาม การใช้หลกั สูตรความสามารถพเิ ศษ
เปน็ ระยะอยา่ งต่อเน่อื ง

๕ มรี ะดบั คุณภาพ ๔ และมีการประเมินผลการใชห้ ลักสตู รความสามารถพิเศษ และ
น�ำไปปรับปรงุ / พฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ ง

16 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

๒.๔ การจัดกลมุ่ การเรียน
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ คลที่เก่ยี วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทปี่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการจดั กลุ่มการเรียนอยา่ งหลากหลาย ตอบสนองความตอ้ งการของนักเรียน

๒ มีระดับคณุ ภาพ ๑ และมีการจดั กลุ่มการเรยี น โดยวิเคราะห์ตามศักยภาพผเู้ รียน

๓ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๒ และในแต่ละกลมุ่ การเรียนมีวิชาเพ่ิมเติมตามความสนใจ
ของนกั เรียนอยา่ งหลากหลาย

๔ มรี ะดบั คุณภาพ ๓ และมรี ายวิชาเพ่มิ เติมท่มี ีความทันสมยั สอดคล้องกับทักษะ
ของผู้เรยี นในศตวรรษที่ ๒๑

๕ มรี ะดับคุณภาพ ๔ และมกี ารประเมนิ และน�ำผลการประเมินไปปรับปรุง / พฒั นา

๒.๕ การจดั ตารางสอน / ตารางเรยี น และจัดครูเขา้ สอน
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคคลที่เก่ยี วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการ และกำ� หนดแนวปฏิบตั ิของการจัดตารางสอน /
ตารางเรยี น

๒ มีระดับคณุ ภาพ ๑ และมตี ารางสอนรายชั้นเรยี น

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และมตี ารางสอน / ตารางเรยี น ทค่ี ำ� นึงถึงประโยชน์สูงสดุ
ของนกั เรยี น

๔ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการจดั ครูเขา้ สอนอย่างครบถว้ น เหมาะสม ตามบรบิ ท
ของโรงเรยี น

๕ มีระดับคุณภาพ ๔ และมกี ารก�ำกบั ตดิ ตาม ประเมินผลการใช้ตารางสอน /
ตารางเรยี น และการจัดครเู ข้าสอน และน�ำมาปรบั ปรุง / พัฒนา

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 17

๒.๖ การนเิ ทศภายใน
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ คลท่ีเกยี่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มคี ณะกรรมการนเิ ทศภายใน

๒ มรี ะดบั คุณภาพ ๑ และมีการวางแผน ก�ำหนดปฏทิ นิ การนิเทศภายใน
ไวอ้ ยา่ งชดั เจน

๓ มรี ะดับคุณภาพ ๒ และมกี ารปฏบิ ตั ิตามแผน และปฏิทินการนิเทศภายใน

๔ มีระดับคุณภาพ ๓ และมกี ารก�ำกับ ติดตามกระบวนการนเิ ทศภายในเปน็ ระยะ
อยา่ งต่อเนอื่ ง

๕ มรี ะดับคุณภาพ ๔ และมกี ารสรปุ ผลการนเิ ทศภายใน นำ� มาปรบั ปรงุ /
พัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้ของครู

๒.๗ การจดั ครูสอนแทน
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคคลทเ่ี กยี่ วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทป่ี รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีแนวปฏิบตั แิ ละผู้รับผดิ ชอบจดั ครเู ขา้ สอนแทน

๒ มีระดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารจัดครูเขา้ สอนแทนโดยค�ำนึงถึงความรู้
ความสามารถ และความถนดั

๓ มรี ะดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารก�ำกบั ตดิ ตาม การจดั ครูเขา้ สอนแทน
อยา่ งสม่ำ� เสมอ

๔ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการสรปุ รายงาน และประเมินผลการจัดสอนแทน

๕ มีระดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการนำ� ผลการประเมินไปใช้ปรบั ปรุงพัฒนาการจัดครู
เข้าสอนแทน

18 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

๒.๘ การน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยมี าใช้ในการด�ำเนนิ งานทางวิชาการ
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ คลทเี่ ก่ยี วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ

การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ

๑ มีการนำ� นวตั กรรมและเทคโนโลยมี าพฒั นางานในระดับกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

๒ มรี ะดับคุณภาพ ๑ และมกี ารน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในระดบั
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และกลมุ่ งานวชิ าการอน่ื ๆ

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และมีการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการด�ำเนินงาน
ทางวิชาการได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๔ มรี ะดับคุณภาพ ๓ และมีการกำ� กับ ติดตามการใช้นวัตกรรม และเทคโนโลยี
ในการดำ� เนนิ งานทางวชิ าการ

๕ มรี ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารพัฒนาการนำ� นวัตกรรมและเทคโนโลยมี าใช้
ในการด�ำเนนิ งานทางวชิ าการให้มคี วามทนั ยุคสมยั

๒.๙ การบรหิ ารจัดการการทดสอบระดบั ชาติ
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคคลที่เก่ียวข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทปี่ รากฏ

การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ

๑ ครูมีการวิเคราะหม์ าตรฐาน / ตวั ช้วี ดั / ผลการเรยี นรู้ ของสาระการเรียนรู้
ทเ่ี ชื่อมโยงกบั แบบทดสอบและผลการทดสอบระดบั ชาติ

๒ มรี ะดับคุณภาพ ๑ และมีการวางแผนพัฒนา ก�ำหนดเปา้ หมายความสำ� เรจ็
ของการพัฒนานักเรยี นเพอ่ื การทดสอบระดับชาติ

๓ มรี ะดบั คุณภาพ ๒ และมีการมอบหมายผูร้ บั ผิดชอบ ด�ำเนนิ งาน
ตามแผนพัฒนาอยา่ งมีส่วนรว่ มของผเู้ กย่ี วขอ้ งทุกฝ่าย

๔ มีระดบั คุณภาพ ๓ และมีการก�ำกบั ตดิ ตาม และประเมินผล เปน็ ระยะ
อย่างตอ่ เนือ่ ง

๕ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารน�ำผลการประเมนิ มาปรับปรงุ / พฒั นาเพือ่ เพ่ิม
ระดับของผลการทดสอบระดบั ชาติ

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 19

๒.๑๐ การสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าการ
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคคลทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารสรา้ งความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับการสร้างชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชีพ

๒ มรี ะดบั คุณภาพ ๑ และมีการก�ำหนดเปา้ หมายร่วม

๓ มีระดับคุณภาพ ๒ และมกี ระบวนการแลกเปล่ยี นเรยี นรสู้ ู่การปฏิบตั ิ

๔ มีระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการน�ำผลการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ไปใชใ้ นการพฒั นา
การจัดการเรียนรู้ของนักเรียน

๕ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารน�ำผลไปพัฒนาต่อยอดเปน็ วธิ ีการปฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ
(Best Practice)

๓. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
๓.๑ การจดั ท�ำและการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ คลทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทปี่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ ครูมีการวเิ คราะห์หลกั สูตรสถานศึกษา และวิเคราะหผ์ เู้ รยี น

๒ มรี ะดับคณุ ภาพ ๑ และมีการจดั ทำ� แผนการจัดการเรียนรูท้ เี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำ� คัญ
โดยใช้กระบวนการทห่ี ลากหลายและเหมาะสมกบั ผเู้ รียน

๓ มรี ะดับคุณภาพ ๒ และครมู ีการใช้แผนการจัดการเรยี นรู้และบันทึกหลังสอน

๔ มีระดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารประเมินคุณภาพแผนการจดั การเรียนรู้

๕ มรี ะดับคุณภาพ ๔ และนำ� ผลการประเมนิ มาปรับปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้
รายวชิ าอยา่ งต่อเนอื่ ง

20 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

๓.๒ การจัดกระบวนการเรยี นรู้
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคคลทเี่ กี่ยวข้อง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานท่ีปรากฏ

การให้ระดบั คุณภาพ รายการ

๑ ครูมีการจัดกระบวนการเรยี นรดู้ ้วยเทคนคิ วิธีการที่หลากหลาย

๒ มีระดบั คณุ ภาพ ๑ และมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
ตัวชี้วดั คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และผลการเรียนรู้

๓ มีระดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารจดั กระบวนการเรยี นร้ทู ี่สอดคล้องกบั สมรรถนะหลัก
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

๔ มีระดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารใชร้ ปู แบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรทู้ ส่ี อดคล้อง
กับทกั ษะผู้เรยี นในศตวรรษที่ ๒๑

๕ มรี ะดบั คุณภาพ ๔ และมีการกระบวนการวิจยั มาปรับปรุง/พฒั นากระบวนการเรียนรู้

๓.๓ การจดั หา จัดท�ำ และพฒั นาสอื่ การจดั การเรียนรู้
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคคลทเี่ กี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารจัดหา จดั ทำ� และพัฒนาสอ่ื อุปกรณก์ ารจดั การเรยี นรทู้ ีส่ อดคล้องกบั
สาระการเรยี นรู้

๒ มรี ะดบั คุณภาพ ๑ และมีการจดั ทำ� บญั ชีส่ือ และอปุ กรณก์ ารจัดการเรยี นรู้
ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้

๓ มรี ะดับคุณภาพ ๒ และมกี ารนำ� สอื่ และอุปกรณ์การจัดการเรียนรู้ไปใชใ้ นการจัด
การเรียนรทู้ ุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

๔ มีระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการบ�ำรงุ รักษา จัดเกบ็ สื่อและอุปกรณ์การเรยี นรู้
ไว้อย่างเปน็ ระบบ

๕ มรี ะดับคณุ ภาพ ๔ และมีการประเมนิ ผลกระบวนการจัดหา จัดท�ำและพฒั นา
ส่อื การจดั การเรียนรู้

มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 21

๓.๔ การจัดหาแหลง่ เรียนร้เู พือ่ จัดการเรยี นรู้
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคคลทีเ่ กย่ี วข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทีป่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารสำ� รวจ รวบรวมข้อมูลและจดั ทำ� บญั ชแี หล่งเรียนรใู้ นทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้

๒ มีระดบั คุณภาพ ๑ และมีการใชแ้ หล่งเรียนรู้ในการจดั การเรยี นร้ใู นทกุ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้

๓ มรี ะดับคุณภาพ ๒ และมีการจดั ให้นกั เรียนไปศึกษาและฝึกประสบการณ์
การเรียนรู้ ณ แหล่งเรยี นรู้

๔ มีระดับคุณภาพ ๓ และมีการกำ� กบั ตดิ ตาม การใช้แหล่งเรยี นรู้อยา่ งเปน็ ระบบ

๕ มรี ะดับคณุ ภาพ ๔ และมีการรายงานผลการใช้แหล่งเรยี นรู้ เพ่ือน�ำมาปรับปรุง /
พฒั นา

๓.๕ การจดั สอนซ่อมเสริม
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคคลท่เี กีย่ วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการสำ� รวจขอ้ มูลการจัดสอนซ่อมเสริม

๒ มรี ะดับคุณภาพ ๑ และมีแนวปฏิบตั กิ ารจัดสอนซ่อมเสริม

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และมกี ารดำ� เนนิ การสอนตามแนวปฏิบัตกิ ารสอนซ่อมเสริม

๔ มีระดบั คุณภาพ ๓ และมีการน�ำผลการสอนซ่อมเสริมมาวิเคราะหแ์ ละรายงาน

๕ มรี ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารนำ� ผลการวิเคราะห์มาใชป้ รบั ปรงุ และ
พฒั นากระบวนการสอนซ่อมเสริม

22 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

๓.๖ การจัดกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบุคคลที่เก่ียวข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นท่สี อดคล้องกับโครงสร้างของหลักสตู รสถานศกึ ษา

๒ มรี ะดับคุณภาพ ๑ และมีการจดั กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนตามความต้องการ
ความสนใจ และความถนดั ของนักเรยี น

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และมกี ารจดั กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น โดยเนน้ การปฏบิ ตั ิ
ที่แสดงออกซ่ึงศกั ยภาพของตนเอง

๔ มรี ะดับคุณภาพ ๓ และมีการจดั ใหน้ กั เรียนได้แสดงผลงานจากการปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

๕ มรี ะดับคุณภาพ ๔ และมกี ารประเมินผลเพ่อื ปรับปรงุ พัฒนาการจดั กจิ กรรม
พฒั นานกั เรยี นใหเ้ หมาะสมย่ิงข้นึ

๓.๗ การจดั กจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้๑
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ คลที่เก่ียวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานทป่ี รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารวางแผนการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ไดต้ ามบริบทของโรงเรยี น

๒ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมีแผนการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรคู้ รอบคลุม
ทกุ กลุม่ /งาน โดยให้นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการวางแผน

๓ มีระดับคณุ ภาพ ๒ และนกั เรียนสว่ นใหญเ่ ข้าร่วมจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้

๔ มีระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ การเรียนรู้

๕ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการนำ� ผลการประเมินไปใชป้ รับปรุงและพฒั นาการจดั
กิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

_______________

หมายเหตุ กิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นร๑ู้ หมายถึง กจิ กรรมท่ีจดั เสรมิ ประสบการณ์การเรียนรู้แบบบูรณาการ ทน่ี อกเหนอื จาก
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นตามหลักสตู ร เชน่ การจัดกจิ กรรมตามวัฒนธรรมประเพณี กจิ กรรมคา่ ย กิจกรรมวันสำ�คญั ตา่ ง ๆ ฯลฯ

มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 23

๓.๘ การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมความสามารถพิเศษ
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคคลทีเ่ กย่ี วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ปี รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ระบวนการคดั เลอื ก จัดกลุม่ ความสามารถพเิ ศษของนักเรยี นแต่ละประเภท

๒ มีระดับคุณภาพ ๑ และมีการกำ� หนดผู้รบั ผิดชอบในแต่ละประเภทความสามารถ
พเิ ศษของนกั เรยี น

๓ มีระดับคุณภาพ ๒ และมกี ารจัดกจิ กรรมพัฒนานักเรียนตามความสามารถพิเศษ

๔ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการจดั เวทใี ห้นักเรียนแสดง / แขง่ ขนั ความสามารถ
พเิ ศษในแตล่ ะประเภท ท้ังในและนอกโรงเรยี น

๕ มีระดับคุณภาพ ๔ และมีการรายงานผลและเผยแพร่ผลงานความสามารถพเิ ศษ
ของนักเรียน

๔. การพฒั นาและส่งเสรมิ ทางดา้ นวิชาการ
๔.๑ การพัฒนาครทู างด้านวิชาการ
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ คลที่เกย่ี วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานทปี่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการสำ� รวจความต้องการจำ� เป็นและวเิ คราะหส์ มรรถนะครูรายบุคคล

๒ มรี ะดับคณุ ภาพ ๑ และมีการน�ำมากำ� หนดเปน็ แผนหรอื โครงการในแผนปฏบิ ัติ
การประจ�ำปี

๓ มีระดับคุณภาพ ๒ และมีการด�ำเนินการตามแผนหรอื โครงการท่ีกำ� หนดไว้

๔ มีระดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารประเมนิ ผล สรปุ รายงานผลการดำ� เนนิ การตามแผน
หรือโครงการ

๕ มรี ะดบั คุณภาพ ๔ และมกี ารน�ำผลการประเมนิ ไปใช้เปน็ ข้อมูลในการพฒั นาครู
อย่างต่อเน่ือง

24 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

๔.๒ การสง่ เสริมพัฒนาครใู หม๑่
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ คลทเี่ กี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทีป่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีแผนพัฒนาครูใหม่ โดยจ�ำแนกครูบรรจุ ครยู ้าย และครอู ตั ราจ้าง

๒ มีระดบั คุณภาพ ๑ และมีการจัดครพู ่เี ล้ียงใหค้ �ำแนะน�ำ / ปรึกษา

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และมีการจดั ท�ำแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) และพฒั นาตนเอง

๔ มีระดับคุณภาพ ๓ และมีการก�ำกบั ติดตาม และประเมนิ ผลการพฒั นาครใู หม่

๕ มีระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารจดั การแสดงผลงานแลกเปลีย่ นเรยี นรูข้ องครูใหม่

๔.๓ การจดั บรรยากาศทางวชิ าการในโรงเรียน๒
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ คลที่เกยี่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทีป่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการส�ำรวจและวเิ คราะห์ข้อมลู การจดั บรรยากาศทางวิชาการของโรงเรียน

๒ มีระดบั คุณภาพ ๑ และมีการกำ� หนดแนวทางในการพัฒนาบรรยากาศทาง
วชิ าการในทกุ กลุ่ม / งานทเ่ี กย่ี วข้อง

๓ มีระดับคุณภาพ ๒ และมกี ารจัดบรรยากาศการเรยี นรู้ ท้งั ในห้องเรยี นและ
นอกหอ้ งเรยี น

๔ มรี ะดบั คุณภาพ ๓ และมีการก�ำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั บรรยากาศ
ทางวชิ าการ

๕ มรี ะดบั คุณภาพ ๔ และมกี ารนำ� ผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรับปรุงพัฒนา
บรรยากาศทางวชิ าการอยา่ งต่อเนอื่ ง

_______________
หมายเหตุ ครใู หม๑่ หมายถึง ข้าราชการครทู ี่บรรจใุ หม่ ครยู ้ายมาปฏิบตั ิราชการ ครูอัตราจา้ ง

การจัดบรรยากาศทางวิชาการ๒ หมายถึง การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ท้ังในห้องเรียน และนอกห้องเรียน
ตลอดจนการจัดบรกิ ารเพื่อสง่ เสริมการเรยี นร้สู นบั สนุนทางวิชาการท่ีจะท�ำใหน้ กั เรยี นได้รบั ความรูแ้ ละประสบการณ์

มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 25

๔.๔ การสง่ เสริมการวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคคลที่เกีย่ วข้อง
๒. พิจารณาจากหลักฐานทีป่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ ส่งเสริมให้ครมู คี วามร้ใู นเร่ืองการวิจยั เพือ่ พฒั นาการเรียนรขู้ องผเู้ รียน

๒ มรี ะดับคณุ ภาพ ๑ และครใู ช้กระบวนการวจิ ยั ไปพฒั นากระบวนการจดั การเรยี นรู้
ของครู

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และครูนำ� ผลการวจิ ยั ไปใชแ้ กป้ ัญหาและพฒั นาการเรยี นรู้
ของนกั เรียน

๔ มรี ะดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารสรปุ ผลการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้
คณุ ภาพผเู้ รียนท่เี ป็นผลจากกระบวนการวิจยั

๕ มีระดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการเผยแพร่ผลการวจิ ัย ท้ังในโรงเรยี นและนอกโรงเรียน

๔.๕ การส่งเสริมการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนรู้
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคคลท่ีเกย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาหลักฐานทปี่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีแผนสง่ เสรมิ ใหค้ รูใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรู้

๒ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมีการจัดท�ำ จัดหาส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยี
เพ่ือการเรียนรู้ได้อยา่ งเหมาะสม

๓ มรี ะดบั คุณภาพ ๒ และครนู �ำนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การเรยี นรไู้ ปใช้พัฒนา
การจดั การเรียนรู้

๔ มีระดับคุณภาพ ๓ และมกี ารประเมินผลการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยี
เพ่ือการจดั การเรียนรู้

๕ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการน�ำผลการประเมนิ ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และ
พฒั นาการใชน้ วตั กรรม เทคโนโลยเี พื่อการเรียนรู้ และมกี ารเผยแพรแ่ กผ่ เู้ กี่ยวขอ้ ง

26 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

๕. การวดั ผลประเมินผลการเรียนและงานทะเบยี นนักเรียน
๕.๑ การดำ� เนินการวัดผลและประเมนิ ผลการเรียน
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคคลทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาหลักฐานท่ปี รากฏ

การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารรวบรวมระเบียบเกยี่ วกบั การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียน

๒ มีระดบั คุณภาพ ๑ และไดก้ �ำหนดแนวปฏิบัตแิ ละจดั ทำ� ปฏิทนิ ปฏิบัติงานเกย่ี วกบั
การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี น

๓ มีระดับคณุ ภาพ ๒ และไดด้ ำ� เนนิ การตามแนวปฏบิ ตั แิ ละปฏทิ ินท่ีก�ำหนด

๔ มรี ะดับคณุ ภาพ ๓ และมีผลการปฏบิ ตั ยิ ังถูกตอ้ ง ครบถ้วนตาม ระเบียบวา่ ดว้ ย
การวัดผลและประเมินผลการเรียน

๕ มีระดบั คุณภาพ ๔ และมีการนำ� ผลการประเมนิ มาปรบั ปรงุ การดำ� เนนิ การวดั ผล
และประเมนิ ผลการเรยี น

๕.๒ การสร้างและปรับปรงุ เครื่องมือการวดั ผลการเรียน
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ คลทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาหลักฐานท่ีปรากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มแี ผนการสร้างเคร่อื งมือในการวดั ผลที่เป็นไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้รายวชิ า

๒ มีระดบั คณุ ภาพ ๑ และมกี ารสรา้ งเครื่องมอื ในการวดั ผลที่เปน็ ไปตามมาตรฐาน
การเรยี นรู้รายวิชาครบทุกรายวิชา

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และมีการวเิ คราะห์ และปรบั ปรงุ เครอื่ งมือในการวดั ผล
ทกุ กล่มุ สาระการเรียนรู้

๔ มรี ะดบั คุณภาพ ๓ และมีการตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งมอื ของการวดั ผลการเรียน
ครบทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้

๕ มีระดบั คณุ ภาพ ๔ และน�ำผลการตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งมือของการวดั ผล
การเรียนมาใชใ้ นการปรับปรุงพัฒนาเครอ่ื งมอื ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้

มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 27

๕.๓ การจัดใหม้ ีเอกสารและแบบฟอร์มเกย่ี วกบั การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี น
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคคลที่เก่ียวขอ้ ง
๒. พิจารณาหลักฐานทีป่ รากฏ

การใหร้ ะดับคุณภาพ รายการ

๑ มีการส�ำรวจ รวบรวม และจัดทำ� เอกสารและแบบฟอรม์ เก่ยี วกบั การวัดผล
และประเมนิ ผลการเรยี นอย่างครบถ้วน

๒ มรี ะดับคณุ ภาพ ๑ และมกี ารกำ� หนดผรู้ ับผิดชอบในการจัดท�ำ / จัดหาเอกสาร
และแบบฟอรม์ เกย่ี วกับการวัดผลและประเมินผลการเรียนอย่างครบถ้วน

๓ มรี ะดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารจดั เก็บอยา่ งเปน็ ระเบยี บและสะดวกในการนำ� ไปใช้

๔ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมกี ารปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสม และทนั สมยั

๕ มีระดบั คุณภาพ ๔ และมกี ารนำ� เทคโนโลยมี าใชใ้ นการด�ำเนนิ การเก่ียวกบั
การวัดผลและประเมินผล

๕.๔ การด�ำเนนิ การเก่ียวกบั หลกั ฐานการวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี น
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคคลทเี่ กี่ยวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาหลกั ฐานที่ปรากฏ

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มีหลักฐานการวดั ผลและประเมินผลการเรียนของนักเรียน

๒ มีระดับคุณภาพ ๑ และมหี ลักฐานการวัดผลและประเมนิ ผลอยา่ งถูกต้องครบถ้วน

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และมีการรายงานผลการเรียนตามระเบียบวดั ผลและประเมิน
ผลการเรยี น

๔ มีระดับคณุ ภาพ ๓ และมีการจัดเก็บรกั ษาหลกั ฐานการวัดผลและประเมนิ ผล
การเรียนอยา่ งเรียบรอ้ ย และปลอดภยั

๕ มรี ะดับคณุ ภาพ ๔ และมีการนำ� เทคโนโลยมี าใชใ้ นงานอย่างเหมาะสม

28 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

๕.๕ การด�ำเนินการเก่ียวกับงานทะเบยี นนกั เรยี น
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ คลท่เี กี่ยวข้อง
๒. พิจารณาหลกั ฐานท่ปี รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มที ะเบียนนักเรยี นหรือหลักฐานงานทะเบยี นนกั เรยี น

๒ มรี ะดับคุณภาพ ๑ และมีขอ้ ความครบถ้วน ถูกต้อง ชดั เจน และเปน็ ปจั จุบนั

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และมีเจ้าหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบและใหบ้ ริการไดท้ ัน
ตามกำ� หนดเวลา

๔ มีระดับคณุ ภาพ ๓ และมีการจดั เกบ็ รักษาท่ดี ีและปลอดภัย

๕ มรี ะดบั คุณภาพ ๔ และมีการนำ� เทคโนโลยมี าใชใ้ นการด�ำเนินงานอยา่ งเหมาะสม

๖. การแนะแนวการศกึ ษา

๖.๑ การบรหิ ารจดั การงานแนะแนว
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคคลท่ีเกยี่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาหลักฐานท่ีปรากฏ

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มีโครงสรา้ งการบริหาร มขี อบขา่ ยงาน และมกี ารก�ำหนดผูร้ ับผดิ ชอบ

๒ มีระดับคณุ ภาพ ๑ และมีคู่มือการปฏบิ ัตงิ านแนะแนว และมีเครือขา่ ย
ที่เก่ียวข้องกบั งานแนะแนวทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน

๓ มีระดับคุณภาพ ๒ และมีการด�ำเนนิ การแนะแนวท้งั ด้านการศกึ ษาตอ่
การอาชพี สงั คมและส่วนตวั อยา่ งเปน็ ระบบและมคี ณุ ภาพ

๔ มรี ะดบั คุณภาพ ๓ และมกี ารก�ำกับ ติดตาม และประเมนิ ผลการดำ� เนินงาน

๕ มีระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารนำ� ผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรับปรงุ
พฒั นางาน แนะแนวให้มปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ข้นึ

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 29

๖.๒ การใหบ้ ริการแนะแนว
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ คลทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาหลักฐานท่ปี รากฏ

การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ

๑ มีการกำ� หนดขอบขา่ ยงานทัง้ ๕ บริการ๑ของงานแนะแนว และก�ำหนดผู้รบั ผดิ ชอบ

๒ มรี ะดับคณุ ภาพ ๑ และมกี ารก�ำหนดแนวทางการดำ� เนินงานทคี่ รอบคลมุ
การใหบ้ รกิ ารของงานแนะแนว และมีคู่มือการจดั กิจกรรมแนะแนวทเี่ นน้
การจัดประสบการณ์ตรงกับนักเรียน

๓ มรี ะดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารด�ำเนนิ การตามแนวทางที่ก�ำหนดอย่างเป็นระบบ
และครอบคลุมนักเรียนทุกกลมุ่ ทุกระดับช้นั

๔ มีระดับคุณภาพ ๓ และมีการส�ำรวจความพึงพอใจ ก�ำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ
ผลของงานแนะแนว

๕ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารน�ำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุง พฒั นาการใหบ้ รกิ าร
แนะแนว

๗. การประเมนิ ผลการดำ� เนินงานวชิ าการ

๗.๑ การประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานวชิ าการ
วิธีการประเมิน
๑. สอบถามบุคคลทเ่ี ก่ยี วข้อง
๒. พิจารณาหลักฐานท่ปี รากฏ

การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ

๑ มีการประเมินผลการดำ� เนินงานวิชาการจากหนว่ ยงานยอ่ ยภายในโรงเรียน

๒ มีระดับคณุ ภาพ ๑ และมีการประเมินผลในรูปแบบของคณะกรรมการ
ประเมินผลระดบั โรงเรยี น

๓ มีระดบั คุณภาพ ๒ และมกี ารวเิ คราะห์ผลการประเมนิ การดำ� เนนิ งานวิชาการ

๔ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการน�ำผลการวิเคราะห์ไปใชใ้ นการปรับปรุงพฒั นา
การด�ำเนนิ งานวิชาการ

๕ มีระดับคุณภาพ ๔ และมกี ารเผยแพร่ผลการดำ� เนินงานทัง้ ภายในและ
ภายนอกโรงเรยี น

30 มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

๗.๒ การประเมินผลในดา้ นคณุ ภาพนักเรียน
วิธีการประเมิน
๑. วิเคราะหจ์ ากหลักฐานการประเมินผลของโรงเรียน
๒. พิจารณาหลักฐานที่ปรากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารกำ� หนดแนวทางปฏบิ ัติ และมกี ารชีแ้ จงสรา้ งความเข้าใจในการดำ� เนินการ
ของการประเมินผลการเรียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ การคดิ วิเคราะห์ อา่ น
เขยี น และสมรรถนะสำ� คัญของผ้เู รียน

๒ มรี ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมีเครอ่ื งมอื การประเมินทีม่ คี ุณภาพ และครอบคลุม
ทุกรายการ

๓ มรี ะดับคุณภาพ ๒ และมีการดำ� เนินการประเมินผลตามแนวทางท่ีกำ� หนด

๔ มีระดบั คณุ ภาพ ๓ และมกี ารกำ� กับ ตดิ ตาม ประเมินผลการด�ำเนนิ งาน
เปน็ ระยะอยา่ งต่อเนอ่ื ง

๕ มีระดบั คณุ ภาพ ๔ และมีการน�ำผลการประเมนิ ไปปรับปรุง พฒั นางาน
การประเมินผลคุณภาพผู้เรยี นอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 31

งานกจิ การนกั เรยี น

32 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

งานกจิ การนักเรียน

กิจการนักเรียนเป็นอีกหน่ึงภาระงานที่ส�ำคัญ สถานศึกษามีบทบาทหน้าท่ีจัดระบบการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนอย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพ รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลมีข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ
ผู้เรียนท่ีครบถว้ นและเป็นปัจจุบนั เพ่ือชว่ ยให้ครูเขา้ ใจเขา้ ถึงและพัฒนาผู้เรียน โดยผา่ นกระบวนการวางแผน
และการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพเพ่ือสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนให้สอดคล้อง
กับสภาวะเศรษฐกิจสังคม การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ส่ิงแวดล้อม เทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย ภาคภูมิใจ ในความเป็น
ชาติไทย เกิดการเรียนรู้ระบอบประชาธิปไตยผ่านกระบวนการท�ำงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน
เทิดทูนและจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีจิตสาธารณะ ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง
ปรับตัวมีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกันสามารถเลือกด�ำเนินชีวิตอย่างผู้มีภูมิรู้มีภูมิธรรมและสามารถด�ำเนินชีวิต
ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับภาวะการเปล่ยี นแปลงทรี่ วดเรว็ ของสงั คมโลก

๑. การวางแผนงานกจิ การนกั เรยี น
๑.๑ การรวบรวมข้อมูลมีระบบการรับฟังเสียงนักเรียนและจัดท�ำระเบียบข้อบังคับ
เกี่ยวกับงานกิจการนกั เรยี น
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรที่เกย่ี วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานที่ปรากฏ

การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารแต่งตง้ั ผรู้ ับผดิ ชอบในการรวบรวมขอ้ มูลระเบียบและแนวปฏบิ ัติทางราชการ
เกย่ี วกับงานกิจการนักเรียน

๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารรวบรวมข้อมลู จากระบบหรือชอ่ งทางการรบั ฟัง
เสียงของนักเรียนรวบรวมระเบียบและแนวปฏบิ ตั ิทางราชการเก่ียวกบั
งานกจิ การนกั เรยี นที่เป็นปัจจบุ นั

๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมีการจัดทำ� ระบบและข้นั ตอนรับฟังเสยี งของนกั เรยี น
ระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ปน็ เอกสารคมู่ อื ครหู รือคู่มือนกั เรียนข้ึนใชใ้ นโรงเรียน

๔ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๓ และมีการเผยแพรข่ ้อมลู ให้ผู้เกีย่ วข้องทราบ

๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมีการแก้ปัญหาข้อร้องเรียนของนักเรยี นและ
มกี ารปรบั ปรุงระเบียบและแนวปฏิบัตใิ หเ้ ป็นปัจจุบันอยา่ งสม�่ำเสมอ

มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 33

๑.๒ การทำ� แผนงานกจิ การนักเรยี น
วิธกี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ

การใหร้ ะดับคณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารจดั ท�ำสารสนเทศเก่ยี วกบั งานกิจการนักเรียนโดยพิจารณาจาก
ผลการประเมนิ การทำ� งานในปที ีผ่ า่ นมาและขอ้ สรปุ จากการรับฟงั เสยี ง
ของนกั เรยี น

๒ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมกี ารจัดท�ำแผนงานเชงิ กลยทุ ธ์ของงานกจิ การนักเรยี น
เปน็ ลายลักษณ์อักษร

๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารดำ� เนนิ การตามแผน

๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมีการนเิ ทศตดิ ตามประเมนิ ผล

๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมีการนำ� ผลการประเมินไปปรบั ปรงุ การท�ำงาน
ในวงรอบตอ่ ไป

๒. การบริหารงานกิจการนักเรียน
๒.๑ การกำ� หนดหน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบและกำ� หนดพนั ธกิจงานกจิ การนกั เรียน
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรท่เี กี่ยวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานทีป่ รากฏ

การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ

๑ มีการกำ� หนดขอบข่ายงานกจิ การนกั เรยี นและจัดท�ำแผนภมู ิงานกจิ การนกั เรยี น

๒ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๑ และมีการจัดท�ำพนั ธกจิ พรรณนางานกิจการนักเรียนและ
วางระบบการทำ� งานที่ชัดเจน

๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารก�ำหนดหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบครบทกุ งานตาม
แผนภูมขิ องโรงเรยี นและมีการขับเคลื่อนระบบ

๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมกี ารประชาสัมพนั ธ์เผยแพร่เช่ือมโยงกับทุกหนว่ ยงาน
ในโรงเรยี น

๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารประเมนิ ตนเองเพือ่ ทบทวนประสทิ ธภิ าพ
การทำ� งานตามระบบและประเมินตนเอง

34 มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

๒.๒ การประสานงานกจิ การนกั เรียนกับเครอื ข่ายภายนอกโรงเรยี น
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรที่เก่ยี วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ

การให้ระดบั คุณภาพ รายการ

๑ มกี ารประสานงานระหว่างโรงเรียนกบั เครอื ข่ายผู้ปกครองอยา่ งใกลช้ ิด

๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และมีการประสานการท�ำงานรว่ มกับหน่วยงาน
ทรี่ ับผดิ ชอบงานเกยี่ วกับเยาวชน

๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมีการประสานงานและท�ำงานรว่ มกนั อย่างตอ่ เนื่อง

๔ ได้ระดับคุณภาพ ๓ และมีการติดตามและประเมินผลการปฏบิ ัติ

๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารประสานงานกับหน่วยงานภายนอกเพิม่ ข้ึน
ทงั้ เชิงปริมาณและคณุ ภาพ

๒.๓ การส่งเสรมิ งานกิจกรรมนักเรยี น
วิธกี ารประเมิน
๑. สอบถามบคุ ลากรท่เี กีย่ วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ

การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ วางแผนกำ� หนดแนวทางการส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมนักเรียน โดยสนับสนนุ ให้
นกั เรยี นไดม้ ีส่วนรว่ มในกระบวนการวางแผน

๒ ได้ระดับคณุ ภาพ ๑ และมกี ารดำ� เนินการจัดกิจกรรมนักเรยี นและสง่ เสริม
สนบั สนุนให้นักเรยี นไดม้ สี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลายตาม
ความถนัด และความสนใจของนักเรยี นและจัดกจิ กรรมให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้
จากประสบการณจ์ ริง ฝึกปฏิบัติใหท้ �ำได้ ทำ� เปน็ รกั การอ่านและเกิดการใฝ่รู้
อย่างต่อเนื่อง

๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ และมีการตรวจสอบในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพของการจดั
กิจกรรมทค่ี รอบคลุมนักเรยี นทง้ั โรงเรียน

๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการนเิ ทศกำ� กับตดิ ตามและประเมินผลการด�ำเนนิ งาน

๕ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๔ และมกี ารนำ� ผลประเมินไปปรบั ปรงุ พฒั นาการจัดกิจกรรม
นักเรยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 35

๓. การส่งเสริมพัฒนาใหน้ กั เรยี นมวี ินยั คณุ ธรรม จริยธรรม
๓.๑ การจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นาความประพฤตแิ ละระเบยี บวินัย๑
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรที่เกี่ยวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทปี่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการจัดกิจกรรมและมีหลกั ฐานแสดงวา่ มกี ารจดั กิจกรรม

๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมแี นวปฏบิ ตั ิการจดั กิจกรรมเปน็ ลายลักษณ์อักษรและ
จัดกจิ กรรมเป็นประจำ� และต่อเนือ่ ง

๓ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๒ และปรากฏผลต่อพฤติกรรมนกั เรยี นอยา่ งเด่นชัดเป็นทยี่ อมรับ

๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมีการประเมินผลและปรบั ปรุงการจัดกจิ กรรมอย่างตอ่ เน่อื ง

๕ ได้ระดบั คุณภาพ ๔ และมีการเผยแพรผ่ ลงานให้เป็นท่ีปรากฏแก่สังคม

๓.๒ การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม๒
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรท่เี กีย่ วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานทีป่ รากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการจัดกจิ กรรมและมหี ลกั ฐานแสดงวา่ มกี ารจัดกิจกรรม

๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมีแนวปฏบิ ัติการจัดกจิ กรรมเป็นลายลักษณ์อกั ษรและ
จดั กจิ กรรมเป็นประจ�ำและต่อเน่ือง

๓ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๒ และปรากฏผลต่อพฤติกรรมนกั เรียนอย่างเดน่ ชดั เป็นทีย่ อมรบั

๔ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๓ และมีการประเมินผลและปรบั ปรงุ การจัดกจิ กรรมอย่างต่อเน่อื ง

๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมีการเผยแพร่ผลงานให้เปน็ ท่ีปรากฏแก่สงั คม

_____________

หมายเหตุ กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบยี บวินัย๑ ได้แก่ การตรงต่อเวลา ความสะอาด การแต่งกาย
การเข้าแถว การแสดงความเคารพ การปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคบั และแนวทางปฏบิ ตั ิของโรงเรียน การพัฒนาสาธารณสถาน ฯลฯ
กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม๒ ได้แก่ กิจกรรมท่ีสอดคล้องกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๘ ประการ ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ คอื รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ซ่ือสัตย์สจุ รติ มีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้
อยอู่ ย่างพอเพียง มงุ่ ม่ันในการทำ� งาน รกั ความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ

36 มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ. 2562)

๓.๓ การจัดกิจกรรมสง่ เสริมพฒั นาด้านความรับผิดชอบต่อสงั คม๑
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเกยี่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานท่ีปรากฏ

การให้ระดบั คุณภาพ รายการ

๑ มีการจดั กจิ กรรมและมีหลักฐานแสดงว่ามกี ารจัดกิจกรรม

๒ ได้ระดบั คุณภาพ ๑ และมีแนวปฏิบัตกิ ารจัดกิจกรรมเป็นลายลักษณ์อักษรและ
จดั กิจกรรมเปน็ ประจำ� และต่อเน่อื ง

๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และปรากฏผลต่อพฤติกรรมนักเรยี นอยา่ งเดน่ ชดั เป็นทย่ี อมรบั

๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมีการประเมินผลและปรบั ปรงุ การจดั กิจกรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง

๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมีการเผยแพร่ผลงานใหเ้ ป็นทป่ี รากฏแก่สงั คม

๓.๔ การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ พฒั นาการใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานทป่ี รากฏ

การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มกี ารจัดกิจกรรมและมีหลักฐานแสดงว่ามีการจดั กจิ กรรม

๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมแี นวปฏบิ ตั กิ ารจัดกจิ กรรมเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรและ
จัดกิจกรรมเป็นประจำ� และต่อเนือ่ ง

๓ ได้ระดบั คุณภาพ ๒ และปรากฏผลตอ่ พฤตกิ รรมนกั เรยี นอยา่ งเดน่ ชดั เปน็ ที่ยอมรับ

๔ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๓ และมกี ารประเมนิ ผลและปรบั ปรุงการจดั กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

๕ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๔ และมกี ารเผยแพรผ่ ลงานให้เปน็ ทปี่ รากฏแกส่ ังคม

_____________

หมายเหตุ กิจกรรมส่งเสรมิ พฒั นาด้านความรับผิดชอบต่อสังคม๑ ได้แก่ การบำ�เพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ การปฏิบตั ิ
ตามกฎหมาย

มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 37

๓.๕ การยกยอ่ งใหก้ �ำลังใจแกน่ ักเรียนผู้ประพฤติดี
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรที่เกีย่ วขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานที่ปรากฏ

การใหร้ ะดบั คุณภาพ รายการ

๑ มีการจัดกจิ กรรมยกย่องใหก้ �ำลงั ใจแกน่ ักเรยี นผู้ประพฤติดี

๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมีแนวปฏิบตั ิเกีย่ วกบั การยกยอ่ งให้กำ� ลงั ใจเป็น
ลายลกั ษณ์อักษร

๓ ได้ระดับคุณภาพ ๒ และมีหลกั ฐานการปฏิบัติเกี่ยวกบั การยกยอ่ งให้กำ� ลงั ใจ
เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

๔ ได้ระดับคุณภาพ ๓ และมีการเผยแพร่เกยี รตปิ ระวตั ขิ องนักเรียนที่ประพฤติดี
ใหป้ รากฏ

๕ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๔ และมกี ารบนั ทึกเกยี รตปิ ระวตั ขิ องนักเรียนไว้เปน็ หลักฐาน
และเปน็ ปัจจุบัน

๔. การดำ� เนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียน

๔.๑ การจัดระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น การเสริมทกั ษะชวี ิตและคุ้มครองนักเรยี น
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทีเ่ ก่ียวข้อง
๒. พจิ ารณาหลกั ฐานท่ีปรากฏ

การให้ระดบั คุณภาพ รายการ

๑ มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการด�ำเนินงานเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร

๒ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมกี ารจดั ระบบงาน มแี ผนงาน / โครงการเป็นลายลกั ษณ์
อักษร

๓ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๒ และมีการดำ� เนนิ งานเปน็ ระบบสอดคลอ้ งกับแผนงาน /
โครงการ และการทำ� งานรว่ มกบั เครือขา่ ยภายในและภายนอกสถานศึกษา

๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมีการนิเทศ การประเมินผลการด�ำเนินงานและ
นำ� ผลการประเมินไปใช้ในการพฒั นางาน

๕ ได้ระดับคณุ ภาพ ๔ และมผี ลสำ� เรจ็ จากการดำ� เนนิ งานชดั เจนทั้งเร่อื งระบบ
การดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิตและการคมุ้ ครองนักเรียน

38 มาตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรียนมธั ยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

๔.๒ การรจู้ กั นักเรียนเปน็ รายบคุ คล
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทเ่ี ก่ียวข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานทป่ี รากฏ

การให้ระดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการแตง่ ตง้ั ครปู รึกษารับผิดชอบดูแลนกั เรยี น

๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และโรงเรยี นมีวธิ กี ารใหค้ รผู รู้ บั ผดิ ชอบดำ� เนนิ การศกึ ษา
นักเรยี นเปน็ รายบคุ คล

๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ และครูด�ำเนินการศกึ ษานักเรยี นเปน็ รายบคุ คลครบทุกคน

๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมีเอกสารหลักฐานข้อมูลนักเรียนทส่ี ามารถตรวจสอบได้

๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมีการวิเคราะห์ขอ้ มลู เพ่อื จดั กลมุ่ นกั เรยี นสำ� หรับ
นำ� ข้อมลู ไปใช้ในการคดั กรองนกั เรยี น

๔.๓ การคัดกรองนกั เรยี น
วิธีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาหลกั ฐานท่ปี รากฏ

การให้ระดับคณุ ภาพ รายการ

๑ มีเครื่องมือส�ำหรบั ใชใ้ นการคัดกรองนักเรียน

๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมกี ารประชมุ ชแ้ี จงครเู กี่ยวกับแนวปฏิบตั ใิ นการคดั กรอง
นกั เรยี น

๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และครดู �ำเนินการคดั กรองนกั เรียนตามแนวปฏิบตั ิ

๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมคี ณะกรรมการกลางพจิ ารณาผลการคัดกรองนักเรยี น

๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมกี ารจ�ำแนกนกั เรยี นอย่างชัดเจนและครอบคลุมทุกกลุม่

มาตรฐานการปฏิบตั ิงานโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรงุ พ.ศ. 2562) 39

๔.๔ การสง่ เสริมและพัฒนานกั เรียน
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเกยี่ วข้อง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานทีป่ รากฏ

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มขี อ้ มลู นักเรียนทค่ี วรไดร้ ับการส่งเสรมิ และพฒั นา

๒ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๑ และมีการกำ� หนดแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม

๓ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารด�ำเนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม

๔ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๓ และมกี ารดำ� เนนิ งานร่วมกับหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง

๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมีการตดิ ตามประเมินผลและน�ำผลการประเมนิ ไปใช้
ปรับปรุง พัฒนาการดำ� เนินงาน

๔.๕ การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหานักเรียน
วธิ กี ารประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ปี รากฏ

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มขี ้อมลู เกี่ยวกบั นักเรยี นทีต่ อ้ งด�ำเนินการปอ้ งกันและแกไ้ ขท้ังที่เปน็ กล่มุ เส่ียง
และกลมุ่ มปี ัญหา

๒ ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ ๑ และมีการกำ� หนดแนวทาง วิธกี ารป้องกนั และแกไ้ ข

๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมกี ารดำ� เนินการและมหี ลกั ฐานการป้องกันและแกไ้ ข
ตามวิธีทก่ี ำ� หนดไว้

๔ ได้ระดบั คุณภาพ ๓ และมีการแกป้ ญั หารว่ มกนั กบั บุคคลที่เกีย่ วข้อง

๕ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๔ และมีการตดิ ตามประเมินผลและน�ำผลการประเมินไปใช้
ปรบั ปรงุ และพัฒนาการดำ� เนนิ การแก้ไขปัญหา

40 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

๔.๖ การส่งตอ่ นกั เรยี น
วธิ ีการประเมิน
๑. สอบถามบุคลากรทเ่ี ก่ยี วข้อง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานทป่ี รากฏ

การใหร้ ะดับคณุ ภาพ รายการ

๑ มีข้อมลู นกั เรียนท่คี วรไดร้ ับการส่งตอ่

๒ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๑ และมีแนวปฏบิ ัตใิ นการส่งต่อนักเรียนท้งั ภายในและภายนอก
โรงเรียน

๓ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๒ และมีการสง่ ต่อนักเรียนตามแนวปฏิบตั ิทกี่ ำ� หนดไว้

๔ ไดร้ ะดบั คุณภาพ ๓ และมีการประสานความรว่ มมอื กับหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง

๕ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๔ และมกี ารติดตามประเมินผลและน�ำผลการประเมินไปใช้
ปรบั ปรงุ พฒั นาการดำ� เนนิ งาน

๕. การส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน
วธิ กี ารประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรท่เี กยี่ วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลักฐานท่ีปรากฏ

การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ รายการ

๑ มีการแต่งตัง้ ผู้รบั ผดิ ชอบการสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยในโรงเรียน

๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมีการจัดทำ� แผนงาน / โครงการสง่ เสรมิ ประชาธิปไตย
ในโรงเรยี น

๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมีการจัดกจิ กรรมตามแผนงาน / โครงการเปน็ ประจำ�

๔ ได้ระดับคณุ ภาพ ๓ และมีการนิเทศ ก�ำกับ ติดตาม ประเมนิ ผลและพัฒนา
อย่างต่อเนอ่ื ง

๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และปรากฏกจิ กรรมทีด่ ำ� เนินการโดยนักเรยี นตามหลัก
ประชาธิปไตยอย่างเดน่ ชดั สามารถเปน็ แบบอย่างแก่โรงเรียนอืน่ ได้

มาตรฐานการปฏบิ ัติงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562) 41

๖. การประเมนิ ผลการดำ� เนินงานกจิ การนกั เรียน
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบคุ ลากรทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
๒. พิจารณาจากหลกั ฐานท่ปี รากฏ

การให้ระดับคุณภาพ รายการ

๑ มีการวางแผนประเมนิ ผลการดำ� เนินงานกิจการนกั เรยี นโดยมีหลกั ฐาน
ให้ตรวจสอบได้

๒ ได้ระดับคุณภาพ ๑ และมีการประเมนิ ผลในระดบั หน่วยงานยอ่ ยภายในโรงเรยี น
ในรูปแบบคณะกรรมการ

๓ ได้ระดับคณุ ภาพ ๒ และมกี ารประเมนิ เชงิ พฒั นาระหว่างด�ำเนนิ การ

๔ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๓ และมีการวเิ คราะหผ์ ลการประเมินผลงานกจิ การนกั เรยี น

๕ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๔ และมกี ารนำ� ผลการวเิ คราะห์ไปจัดทำ� รายงานผลการด�ำเนนิ
การเพื่อใชใ้ นการปรับปรุงพฒั นาการดำ� เนินงานกิจการนกั เรยี น

42 มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

งานบุคคล

มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562) 43

งานบคุ คล

การบริหารงานบุคคล มีความส�ำคัญอย่างย่ิงต่อการขับเคลื่อนและพัฒนาองค์กรไปข้างหน้า
เพ่อื ตอบสนองตอ่ การเปลี่ยนแปลง ท้ังดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และเทคโนโลยี สถานศกึ ษาจึงต้องมี
การบริหารงานบุคคลเพือ่ ขับเคลอ่ื นองค์กรสู่ความเป็นเลศิ

งานบุคคล เป็นงานสนับสนุนบุคลากรที่ส�ำคัญในสถานศึกษามีจุดประสงค์หลักของงานบุคคล
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการสรรหาบุคลากร การส่งเสริมพัฒนาสร้างขวัญก�ำลังใจและการรักษาระเบียบ
วินัย สิทธิประโยชน์ อันพึงมีพึงได้ของบุคลากร เช่น จัดการปฐมนิเทศให้บุคลากรเพื่อให้ทราบภาระงาน
เมื่อเร่ิมเข้าสู่องค์กรจัดท�ำเอกสารแนะน�ำแนวทางการปฏิบัติงาน จัดการนิเทศภายในเพ่ือทบทวนบทบาท
หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ จัดการประชมุ สมั มนา ศกึ ษาดูงาน เพ่ือเพ่มิ พนู ทักษะและศกั ยภาพในการปฏิบตั งิ าน
ของบุคลากรจดั ระบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานเพื่อนำ� ขอ้ มลู ทไ่ี ดไ้ ปใชป้ รบั ปรุงการท�ำงานอยา่ งต่อเน่ือง

๑. การบรหิ ารงานบคุ คล
๑.๑ การวางแผนอตั ราก�ำลงั
วิธีการประเมนิ

๑. สอบถามบุคลากรท่ีเกย่ี วขอ้ ง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

การให้ระดบั คุณภาพ รายการ

๑ มกี ารวเิ คราะหอ์ ัตราก�ำลงั ครูและบุคลากรทางการศึกษา

๒ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ๑ และมีการจดั ทำ� แผนอัตราก�ำลัง

๓ ได้ระดบั คณุ ภาพ ๒ และมกี ารกำ� หนดวิธีการแกป้ ัญหาทสี่ อดคลอ้ งกบั แผนอัตราก�ำลงั

๔ ไดร้ ะดับคุณภาพ ๓ และมกี ารประสานงานขอความร่วมมือจากหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้อง

๕ ได้ระดับคุณภาพ ๔ และมีการประเมินผลการดำ� เนินการวางแผนอตั รากำ� ลัง

๑.๒ การพฒั นาบุคลากร
วธิ ีการประเมนิ
๑. สอบถามบุคลากรท่ีเกย่ี วข้อง
๒. พจิ ารณาจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์

๓. พิจารณาการดำ� เนนิ งานของโรงเรียนในเรอื่ งตอ่ ไปนี้
(๑) การปฐมนเิ ทศ / การนเิ ทศภายใน
(๒) การจดั หาหรือจัดทำ� เอกสารแนะนำ� แนวทางการปฏิบัตงิ าน
(๓) การจัดอบรม ประชุมหรือสมั มนาในโรงเรยี น

44 มาตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)