นันทนาการ เพื่อการท่องเที่ยว 12 ประเภท

ความหมายและประเภทของนันทนาการ

ความหมายและประเภทของนันทนาการ ในปจั จุบนั มีการคาว่านันทนาการและสันทนาการปะปนกัน
มากตามหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะในสถานศึกษา เช่น โรงเรียน มหาวิทยาลัย จากการศึกษา
คน้ คว้าพบว่า คาว่าสันทนาการมกี ารบญั ญัติ ใช้มาเม่ือปี พ.ศ. 2507 โดยกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสันทนาการ
เกิดจากการผสมคา 2 คา คือ สันทน และอาการ ซ่ึงคาว่า สันทน หมายถึง เกวียน, รถ, รถศึก และคาว่า
อาการ = การแสดงออก เม่ือนามารวมกันทาให้สื่อ ความหมายยังไม่ตรงนักจึงทาให้มีการใช้คาว่า
“นันทนาการ” เปน็ คาใหม่ทบ่ี ัญญัติขน้ึ ใชแ้ ทนคาว่า “สันทนาการ” สาหรับคาภาษาอังกฤษคือ "Recreation"
ซึ่งมาจากคา "Create"แปลว่าสร้างขึ้นหรือทาข้ึนเติมคา “Re” เป็น “Recreate”แปลว่าสร้างขึ้นมาใหม่หรือ
ทาขึ้นใหม่เมื่อเป็น “Recreation” ก็ให้ความหมายว่า “การสร้างข้ึนมาใหม่” ซ่ึงหมายความว่า คนเราเมื่อ
ประกอบภารกิจประจาวันก็จะเกิดความเครียด ความ อ่อนเพลียเหนื่อยง่าย เม่ือยล้า ท้ังร่างกายและจิตใจ ก็
จะต้องหาส่ิงที่ทาให้ความเครียด เหน่ือยง่าย อ่อนเพลีย หายไปกลับมีพลังคืนสภาพปกติซ่ึงนักวิชาการหลาย
ท่านได้ให้ความหมายของนันทนาการ ไว้ดังน้ี บัทเลอร์ (D. Butler, 1959, p.15) ได้ให้ความหมายไว้ว่า
นันทนาการ คือ ประสบการณ์หรือกิจกรรม ใดๆ ซ่ึงบุคคลเข้าร่วมโครงการเลือกสรรแล้วว่าจะทาความ
สนุกสนาน และพึงพอใจมาสู่ตัวบุคคล นูเมเยอร์ (Neumeyer, 1958, p.17) ได้กล่าวว่านันทนาการคือ
กิจกรรมใดๆ ท่ีบุคคลหรือกลุ่มบุคคล หาความสนุกในระหว่างเวลาว่างโดยเสรีและได้รับความสุขใจจากการ
กระทานั้นๆ แนซ (Nash, 1965, pp. 1-2) ได้อธิบายว่านันทนาการหมายถึงการใช้เวลาว่างเพ่ือประโยชน์
คุณคา่ ในทางที่ดงี ามจากการเข้ารว่ มกจิ กรรมน้ัน ๆ ซ่ึงสาหรับเด็กจะเรียกกิจกรรมน้ันว่า “การเล่น” ส่วนคน
รุ่นหนุ่ม สาวและผู้ใหญ่แล้ว จะเรียกว่า “นันทนาการ” ไบรท์บิลล์และเมเยอร์ (Brightbill & Meyer, 1972,
pp. 50-61) กลา่ วไว้ในหนังสือนันทนาการ (Recreation) ว่า “นันทนาการ” หมายถงึ กจิ กรรมท่ีบุคคลเข้าร่วม
ดว้ ยความสมัครใจในเวลาว่าง โดยมคี วามพึง พอใจ หรือสุขใจเป็นเครื่องจูงใจเน่ืองจากกิจกรรมน้ันๆ โดยตรง
พีระพงศ์ บุญศิร(ิ 2542, หนา้ 30) ใหค้ วามหมายว่า กจิ กรรมท่ีบคุ คลเข้ารว่ มด้วยความสมัครใจใน เวลาว่างโดย
มีความพอใจ สมัครใจ ไม่มกี ารบังคับและ ได้รับความสุขสนุกสนานเพลิดเพลินใจจากการเข้าร่วม กิจกรรม ชู
ชพี เยาวพฒั น(์ 2543, หนา้ 8) กล่าววา่ นันทนาการเป็นกิจกรรมที่มีองค์ประกอบในลักษณะเดียวกับ การเล่น
จะแตกต่างในเร่ืองของรูปแบบของนันทนาการ และมีบางสิ่งบางอย่างท่ีนอกเหนือจากการเล่น โดยเน้น ใน
เรื่องการศึกษาความซาบซ้ึงในการเสริมสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ หรือมุ้งเน้นการพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ สังคมและจิตใจ ให้กระทาแต่ในส่ิงท่ีมีประโยชน์ต่อตนเอง และสังคม ไม่ว่าบุคคลนั้นจะใช้มันสมอง
หรือ ใช้กาลังกายประกอบสัมมาอาชีพก็ตาม สมบัติ กาญจนกิจ (2535, หน้า 13) ได้ขยายความหมายของ
นันทนาการ ไวด้ ังน้ี

1. นันทนาการ หมายถึง การทาให้สดชื่น เสริมสร้างพลังขึ้นมาใหม่ หลังจากการใช้พลัง แล้ว
ก่อให้เกิดความเหนื่อยเมื่อยล้า ทางร่างกาย ทางสมอง และจิตใจ กิจกรรมที่คนเข้าร่วมในช่วงเวลาว่าง และ
ชว่ ย ขจดั หรือผอ่ นคลายความเมอื่ ยลา้ ทางรา่ งกาย และจิตใจ

2. นันทนาการ หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคลเข้าร่วมในช่วงเวลาว่างโดยไม่มีการบังคับ หรือเข้า
รว่ มโดยการสมคั รใจ แล้วผลกอ่ ให้เกดิ การพฒั นาอารมณส์ ุข รวมท้ังความสุขสนุกสนานหรือความสุขสงบ และ
กจิ กรรมนน้ั ต้องเปน็ กจิ กรรมทีส่ ังคมยอมรบั และเปน็ กจิ กรรมที่มีความหลากหลาย

3. นันทนาการ หมายถึง กระบวนการ หรือประสบการณ์ความสุขที่บุคคลได้รับโดยอาศัยกิจกรรม
นันทนาการในช่วงเวลาว่างเป็นสื่อ ก่อให้เกิดการพัฒนาการ หรือการเจริญงอกงามทางกาย อารมณ์ สังคม
และ สตปิ ญั ญาของบคุ คล

4. นันทนาการ หมายถึง สถาบันทางสังคม หรือแหล่งศูนย์กลางทางสังคมเพื่อให้บุคคลเข้าร่วม
กิจกรรมนันทนาการแลว้ ก่อให้เกิดการพัฒนาทางด้านอารมณ์ และพัฒนาเจริญงอกงามทางด้านร่างกาย จิตใจ
และสังคม จากความหมายดังกลา่ วสรปุ ได้วา่ นันทนาการ หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ท่ีกระทาด้วยความสมัครใจ
ใน ยามว่างจากภารกิจงานประจา มีความพึงพอใจ โดยกิจกรรมน้ันไม่ขัดต่อขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรม และ กฎหมายบ้านเมือง ทาให้เกดิ ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และจติ ใจ สาหรับประเภทของนนั ทนาการสามารถแบง่ ออกได้เป็น 11 ประเภท ไดแ้ ก่

1. ศิลปหตั ถกรรม เชน่ การเยบ็ ปักถักรอ้ ย การแกะสลกั

2. เกมและกฬี า เช่น เกมกลมุ่ สมั พันธ์ กฬี าในร่ม กฬี ากลางแจง้

3. การเตน้ รา เช่น ราไทย เต้นลลี าศ

4. การละคร เช่น ละครพ้ืนบา้ น ละครโทรทศั น์

5. งานอดิเรก เช่น งานเก็บสะสม งานท า ประดษิ ฐ์

6. การดนตรแี ละร้องเพลง เช่น การเล่นดนตรี การรอ้ งเพลง

7. กจิ กรรมกลางแจง้ /นอกเมือง เช่น การทอ่ งเที่ยว สวนสาธารณะ

8. วรรณกรรม (อา่ นเขียนพดู ) เชน่ การอา่ นวรรณกรรม การโต้วาที

9. กจิ กรรม ทางสงั คม เชน่ การประชุมเล้ยี งสังสรรค์ งานเล้ียง

10. กิจกรรมพเิ ศษตามเทศกาลต่างๆ เช่น งานปใี หม่ ลอยกระธง และ

11. การบริการอาสาสมัคร เช่น กิจกรรมพัฒนาชุมชน พัฒนาโรงเรียน (แผนพัฒนานันทนาการ
แหง่ ชาติฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2555-2559), หน้า 22)

นันทนาการการท่องเท่ยี ว : ความหมายและความสาคญั นันทนาการเปน็ กจิ กรรมท่ีคนเราสามารถเข้า
ร่วมได้หลายประเภท ท้ังประเภทท่ีอยู่ในร่ม (Indoor Recreation) และประเภทที่อยู่กลางแจ้ง (Outdoor
Recreation) โดยเฉพาะกิจกรรมนันทนาการกลางแจ้ง จะมีความนิยมมากในประเทศที่มีสภาพภูมิอากาศ
หนาวเย็น ในชว่ งหนา้ รอ้ นของประเทศในแถบยโุ รป อเมริกา และแถบเอเชยี บางประเทศ กิจกรรมนันทนาการ
กลางแจง้ จงึ มีความสาคญั ตอ่ ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนที่จะ อาศัยช่วงเวลานี้ การออกมาทากิจกรรมเพื่อผ่อน
คลายความเครียด ทากิจกรรมครอบครัว การออกกาลังกายและ การเดินทางท่องเท่ียว โดยเฉพาะการเลือก
กิจกรรมนนั ทนาการการท่องเที่ยวเปน็ กจิ กรรมในการเสริมสร้าง ประสบการณใ์ หม่ๆ ทาให้เกิดความผ่อนคลาย
สนุกสนาน เพลิดเพลิน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและ จิตใจ ซ่ึงสอดคล้องกับลอสันและบอด โบวี
(Lawson & Baud-Bovy, 1977, p.10) ได้กล่าวถึงการท่องเท่ียวว่า เป็นการนันทนาการ (Recreation)
รปู แบบหนึง่ ทเ่ี กดิ ข้นึ ระหว่างเวลาวา่ ง (Leisure time) ที่มีการเดินทาง (Travel) เข้ามาเกี่ยวข้อง โดยเป็นการ

เดินทางจากท่ีหนึ่ง ท่ีมักหมายถึงที่อยู่อาศัย ไปยังอีกที่หนึ่งที่ถือเป็นแหล่ง ท่องเท่ียว เพ่ือเปลี่ยนบรรยากาศ

และสิง่ แวดลอ้ ม เชน่ เดยี วกบั สมบัติ กาญจนกจิ (2535, หนา้ 15) ได้กล่าวถึง กจิ กรรมการท่องเที่ยวทัศนศึกษา
เป็นกิจกรรมนันทนาการที่สร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต สร้างความประทับใจ มีความซาบซึ้งในธรรมชาติ

ศิลปวัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตของชุมชน และสังคมในลักษณะท่ีแตกต่างกันออกไป การท่องเท่ียวส่งเสริม
พัฒนาการด้านร่างกาย จติ ใจอารมณ์ สงั คม และสติปัญญา รวมท้งั บุคลกิ ภาพ การได้รบั ประสบการณ์ตรงจาก
แหล่งนันทนาการนอกห้องเรียน เป็นการศึกษาธรรมชาติของชุมชนท่ีแท้จริง นอกจากน้ี การท่องเที่ยวทัศน

ศึกษายงั เป็นการชว่ ยพฒั นาทางด้านเศรษฐกิจช่วยกระจายรายไดล้ งสชู่ นบท และเป็นการสร้าง ความเข้าใจอัน
ดรี ะหวา่ งเพือ่ นมนษุ ย์ทมี่ ีตอ่ ธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรมได้อย่างแน่นแฟ้น ดังน้ันผู้เขียนบทความ จึง

ขอเสนอคาว่า นันทนาการการทอ่ งเท่ยี ว (Tourism Recreation) เพอ่ื ส่อื ความหมายของการเข้าร่วมกิจกรรม
นันทนาการในเวลาว่างโดยการเดินทางท่องเที่ยว โดยให้ความหมายของ นันทนาการการท่องเที่ยวไว้ดังนี้
นันทนาการการท่องเที่ยว (Tourism Recreation) หมายถึง กิจกรรม นันทนาการที่ใช้กิจกรรมการ

ท่องเท่ียวท่ีกระทาด้วยความสมัครใจในยามว่างจากภารกิจงานประจา ซ่ึงผู้เข้าร่วม กิจกรรม และมีความพึง
พอใจ ทาให้เกิดประสบการณ์ใหม่ๆ ทาให้เกิดความผ่อนคลาย สนุกสนาน เพลิดเพลิน ท้ังทางด้านร่างกาย

อารมณ์ สังคมและจิตใจโดยความสาคัญของนันทนาการการท่องเท่ียวมีดังนี้คือ ความสาคัญของนันทนาการ
การทอ่ งเทีย่ ว นันทนาการท่องเท่ียวมีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กับคาว่า อุตสาหกรรมท่องเท่ียว (Tourism
Industry) ซ่ึงประกอบด้วยธุรกิจหลายประเภท ทั้งธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยตรง และธุรกิจท่ีเก่ียวข้องทางอ้อม

หรอื ธรุ กจิ สนบั สนนุ ต่างๆ การซอ้ื บริการของนักท่องเท่ยี วเปน็ การใชส้ ินคา้ และบริการตา่ งๆ ซงึ่ ผลประโยชน์จะ
ตกอยู่ ในประเทศและจะช่วยให้เกิดงานอาชีพอีกหลายแขนง เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้

ทางด้านสังคม การท่องเที่ยวเป็นการพักผ่อนคลายความตึงเครียด พร้อมกับการได้รับความรู้ ความเข้าใจใน
วัฒนธรรมท่ีผิดแผก แตกต่างออกไปอีก อุตสาหกรรมท่องเท่ียวเป็นแหล่งที่มาของรายได้ในรูปเงินตราทั้งใน
ประเทศและตา่ งประเทศ ซ่ึงจะมีส่วนช่วยสร้างเสถียรภาพให้กับดุลการชาระเงินได้เป็นอย่างมาก นอกจากนี้

การทอ่ งเท่ยี วยังมีบาทบาท ช่วยกระตุ้นให้มีการนาเอาทรัพยากรของประเทศมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางที่
ผู้อยู่ในท้องถิ่นได้เก็บมา ประดิษฐ์เป็นหัตถกรรมพ้ืนบ้าน ขายเป็นของท่ีระลึกสาหรับนักท่องเที่ยว (ฉันทัช

วรรณถนอม, 2552, หน้า 101) ซ่ึงสรุปความสาคัญของนันทนาการการท่องเท่ียวท่ีมีต่อเศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรม ธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม มีดังต่อไปนี้ ด้านเศรษฐกิจ การเดินทางท่องเท่ียวโดยเฉพาะเป็น
นกั ท่องเที่ยวต่างชาติ จะเปน็ แหล่งทม่ี าของเงนิ ตรา ต่างประเทศชว่ ยลดปญั หาการขาดดุลการชาระเงินระหว่าง

ประเทศธุรกิจด้านการบริการที่เก่ียวข้องกับการ ท่องเท่ียวได้แก่ ธุรกิจการคมนาคมขนส่งทั้งทางบก ทางเรือ
ทางอากาศ ธุรกิจทพี่ กั ได้แก่ โรงแรมรีสอร์ท บ้านพัก เกสท์เฮาส์ธุรกิจร้านอาหารและภัตตาคารเป็นสิ่งดึงดูด

นกั ทอ่ งเท่ยี วท่สี าคัญ การมีอาหารประจาชาตทิ ่ี เปน็ เอกลักษณ์ของแตล่ ะประเทศ ธรุ กิจนาเที่ยวและมัคคุเทศก์
เป็นธุรกิจการบริการที่มีความสาคัญในการบริการ นักท่องเท่ียว การดูแลเอาใจใส่ทาให้เกิดความประทับใจ
และเปน็ การน าเสนอสง่ิ ดึงดูดใจทางการท่องเทยี่ วและ ขอ้ มูลของแต่ละประเทศ อกี ท้ังการชว่ ยสรา้ งอาชีพและ

การจ้างงานของคนในพ้ืนท่ีแหล่งท่องเท่ียว เป็นการช่วย ให้เกิดการกระจายรายได้จากนักท่องเท่ียว ไปสู่
ชาวบ้าน และชมุ ชนทเ่ี ปน็ แหล่งทอ่ งเทีย่ ว ท าอาชพี บริการต่างๆ และชว่ ยกระตุ้นให้เกิดการผลิตทางเศรษฐกิจ

สินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเท่ียว เช่น ของที่ระลึกที่ เป็นเอกลักษณ์ตามสถานท่ีท่องเท่ียวต่างๆ
อาชพี การบรกิ าร ได้แก่ สปา นวดแผนไทย ตลอดจนธุรกจิ ด้านบรกิ าร ด้านสงั คมและวัฒนธรรม ในทุกๆ สังคม
จะมีการพัฒนาเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะช้าหรือเร็วก็ ขึ้นอยู่กับปัจจัยจากทั้งภายนอกละภายในมาเป็น

ตัวกระตนุ้ จะพฒั นาไปในทางทีด่ หี รอื ไมก่ ็ขน้ึ อยูก่ บั ปัจจัยทั้งสอง นัน้ นันทนาการการท่องเที่ยวจะช่วยส่งเสริม
ความสัมพันธ์ตอ่ ครอบครวั สภาพสังคมปจั จบุ ันทาใหส้ มาชกิ ใน ครอบครวั ขาดโอกาสและบรรยากาศที่จะได้อยู่

พร้อมหน้าพร้อมตา หรือมีความสัมพันธ์กันแน่นแฟ้นเหมือน สมัยก่อน การใช้กิจกรรมนันทนาการการ
ท่องเท่ียวเป็นส่ือในการเพิ่มประสบการณ์ใหม่ๆ ให้กับคนในครอบครัว การมีเวลาได้อยู่ร่วมกัน พูดคุย
แลกเปล่ยี น เกดิ การปฏสิ มั พนั ธก์ นั ทาให้ครอบครัวเกิดความอบอุ่น ทาให้ลดปัญหา ครอบครัว ห่างไกลยาเสพ
ติด ส่วนในด้านวัฒนธรรม กิจกรรมนันทนาการการท่องเท่ยี วเป็นกจิ กรรมที่สง่ เสรมิ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
ระหวา่ งคนในประเทศและต่างประเทศ การได้เรียนรู้ ประสบการณ์ของคนในท้องถิ่นท่ี ต่างวัฒนธรรม จะทา
ให้เกิดความรู้ความเข้าใจบริบทของคนในท้องถ่ิน วัฒนธรรมประเพณีท่ีเกิดการส่ังสมกันมา ต้ังแต่บรรพบุรุษ
การรักษาและสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนท่ีควรค่าอนุรักษ์ให้คง อยู่ให้ลูกหลาน
ตอ่ ไป อกี ทง้ั ยังเปน็ การน าเสนอจดุ เดน่ ความนา่ สนใจแก่นักทอ่ งเท่ียวทม่ี าเยอื น ให้ได้รับความ ประทับใจและ
ความทรงจาทีด่ ี อันเกดิ จากการน าเสนอวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์และดึงดูดนักท่องเท่ียว ทั้งน้ี นันทนาการ
การท่องเท่ียวมีความเก่ยี วขอ้ งกบั ภาคธุรกิจหลายฝ่าย องค์กร หน่วยงาน และบุคคล ความต้องการ ของคนท่ี
หลากหลาย ผลของการท่องเที่ยวอาจไม่ได้ส่งผลต่อการทาให้วัฒนธรรมของท้องถ่ินต้องเปล่ียนแปลง อย่าง
ทนั ทีทันใด แตอ่ าจคอ่ ยๆ ซึมซับอย่างช้าๆ ธุรกิจหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวภาคต่างๆ ที่มี
ความล่อแหลมต่อความรับผิดชอบในวัฒนธรรมท้องถ่ินนั้นๆ จึงควรตระหนัก หมั่นสังเกตติดตาม ช่วยกัน
รักษาวัฒนธรรมท่ีดีงาม และการรับวัฒนธรรมภายนอกท่ีแตกต่างจากของตนมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูง
สุดแต่ ต้องไม่ลืมคุณค่าวัฒนธรรมเดิมของตนด้วย ด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นันทนาการการท่องเท่ียว
ก่อให้เกิดประโยชน์ในการช่วยรักษา ส่ิงแวดล้อม กล่าวคือ เม่ือมีกิจกรรมนันทนาการการท่องเที่ยวเกิดข้ึน
ย่อมทาให้ชุมชนในแหลง่ ท่องเท่ยี วน้นั ๆ เหน็ คุณค่าของสิง่ แวดล้อมท่ีเป็นทรัพยากรการท่องเท่ียว เป็นเหตุให้มี
การมีการชว่ ยกนั รักษาสภาพภมู ิทศั น์ของ สิ่งแวดล้อมในชมุ ชน เพอื่ สามารถดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเข้ามามากข้ึน
และสามารถอาศัยรายได้จากการท่องเทยี่ ว มาสนับสนุนในการดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ
อนั เปน็ การนาทรพั ยากรการทอ่ งเที่ยวมาใชใ้ ห้ เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า แต่อย่างไรก็ตามหากไม่มีการบริหาร
จัดการที่ดี กิจกรรมนนั ทนาการการท่องเทย่ี วก็จะ ส่งผลตอ่ ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมเชน่ เดียวกัน เช่น การตัด
ไมท้ าลายป่า การบกุ รุกป่าเพ่ือสร้างรสี อร์ท โรงแรม ปัญหาขยะทเี่ กิดจากกจิ กรรมนันทนาการการท่องเทีย่ ว

แนวโน้มนันทนาการการท่องเที่ยวของโลก นันทนาการการท่องเที่ยวส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรม
ทอ่ งเทย่ี วทีม่ กี ารขยายตัวสูง มีบทบาทความ สาคัญต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละประเทศเป็นอย่าง
มาก เป็นแหล่งรายได้ท่ีสาคัญนามาซึ่งเงินตรา ต่างประเทศ การสร้างงาน และการกระจายความเจริญไปสู่
ภูมิภาค ทัง้ นี้การบรหิ ารจัดการทางด้านการ ท่องเท่ียวเพื่อใหส้ ามารถปรบั ตวั เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ และเกิด
การเติบโตอย่างมีคุณภาพ ยั่งยืน สามารถ แข่งขันได้ในตลาดโลกได้ การเร่งรัดและสร้างศักยภาพในการหา
รายได้จากการท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาการ ท่องเที่ยวของแต่ละประเทศให้มีความพร้อมท้ังด้านคุณภาพการ
แข่งขนั เกดิ การสร้างรายได้ และการกระจาย รายได้ควบคู่ไปกับการพัฒนาที่ย่ังยืน จนเกิดความพร้อมในการ
แข่งขันด้านนนั ทนาการการทอ่ งเท่ยี วของโลก ท้ังน้เี มื่อพิจารณาโครงสร้างการตลาดและแนวโน้มการท่องเที่ยว
โลก พบว่า มีการเพ่ิมขึ้นของนักท่องเท่ียว องค์การการท่องเที่ยวโลก ซึ่งองค์การการท่องเท่ียวโลก (World
Tourism Organization : UNWTO) ได้ พยากรณ์ว่าเม่ือถึงปี พ.ศ. 2563 จะมีนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ
จานวน 1,600 ล้านคน ภูมิภาคทมี่ แี นวโน้ม เป็นแหล่งท่องเท่ียวยอดนิยมคือ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแป
ซิฟิค และกลมุ่ ประเทศในเอเชยี ตะวันออกเฉียง ใต้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการตลาด กลุ่มประเทศ BRIC
(บราซลิ รัสเซีย อินเดีย และจีน) มีรายได้เพ่ิมขึ้น และมีศักยภาพในการส่งออกนักท่องเที่ยวในอนาคต มีการ
แข่งขันด้านการท่องเที่ยวสูงข้ึน มีการเปล่ียนแปลง โครงสร้างประชากรโลก นักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุมี
แนวโน้มเพิ่มสูงข้ึน มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นักท่องเท่ียวรุ่นใหม่มีแนวโน้มที่จะใช้ข้อมูลท่องเที่ยวผ่าน

อนิ เทอร์เนต็ เพื่อทาการสืบค้นและเปรยี บเทียบราคา มากข้นึ เมือ่ พิจารณาการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมของ
นักท่องเท่ียว พบว่า พฤติกรรมผู้บริโภคปรับเปลี่ยนไป ตามสภาพเศรษฐกิจ ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ
ตกต่า ส่งผลให้นักท่องเที่ยวใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวอย่างระมัดระวัง นักท่องเท่ียวนิยมเดินทางท่องเท่ียว
ระยะใกล้ โดยอาจเลือกเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศหรือ ภายในภูมิภาคเดียวกันมากขึ้น นักท่องเท่ียวมี
แนวโนม้ สนใจการท่องเท่ียวในความสนใจพิเศษ (Special Interest Tourism) เช่น การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ
(Health Tourism) การท่องเท่ียวเชิงผจญภัย (Adventure Tourism) การท่องเที่ยวเชิงศาสนา (Spiritual
Tourism) การท่องเท่ียวเพื่อการประชุมและนิทรรศการ (MICE) และการ ท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sports
Tourism) เปน็ ต้น กระแสของความสนใจและใส่ใจในสุขภาพ และการออกก าลังกาย ทาให้การท่องเท่ียวเชิง
สุขภาพ (Health Tourism) และการท่องเท่ียวเชิงกีฬา (Sports Tourism) มีแนวโน้ม ได้รับความสนใจจาก
นักท่องเท่ียว และกระแสความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม การอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมดั้งเดิม
กาลงั ได้รับความนยิ มจากนักทอ่ งเทีย่ ว และมแี นวโน้มมากขึ้น แนวโน้มนันทนาการการท่องเท่ียวของประเทศ
ไทย นันทนาการการท่องเท่ียวของประเทศไทย จากสถานการณ์นักท่องเที่ยว ปี 2557 จานวนนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติตลอดปี 2557 หดตัวร้อยละ 6.6 แต่รายได้หดตัวเพียงร้อยละ 5.8 ถึงแม้จะมีปัญหาการเมือง
ภายในประเทศ ส่วนคนไทยเดินทางไปท่องเท่ียวต่างประเทศในปี 2557 ขยายตัวร้อยละ 0.8 และมีรายจ่าย
เพม่ิ ข้ึนรอ้ ยละ17.2 ก่อให้เกดิ รายจา่ ยดา้ นทอ่ งเทยี่ ว 1.17 แสนล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 17.2 จากปีที่ผ่านมา
(การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย, 2557, ม.ป.ป.) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ร่วมกันหน่วยงานและภาค
สว่ น ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งไดร้ ว่ มกนั จัดทากิจกรรมเพอ่ื ส่งเสรมิ และกระตุ้นการทอ่ งเที่ยวในช่วงไตรมาสที่ 4 ซึ่งเป็น
ฤดูกาล ท่องเทย่ี วทีส่ าคญั ซงึ่ สามารถกระตนุ้ ใหน้ ักทอ่ งเที่ยวขยายตวั เพ่ิมมากข้ึน สะท้อนให้เห็นถึงความคุ้มค่า
ในการเปน็ จุดหมายปลายทางของนกั ท่องเทยี่ วต่างชาติท่วั โลกและการมีแหล่งท่องเท่ียวท่ีมีช่ือเสียงเป็นที่รู้จัก
มากมายหลาย แห่งเม่ือเทียบกับประเทศอ่ืนๆ ทว่าในปัจจุบันกลับต้องเผชิญกับบททดสอบที่มีความยากล า
บากในดา้ น ความสามารถในการแขง่ ขนั อนั เน่อื งมาจากความไม่มัน่ คงในสถานการณต์ ่างๆ น่ันเอง จุดเน้นของ
นันทนาการการท่องเท่ียวท่ีถูกและคุ้มค่ากว่าเที่ยวประเทศเพื่อนบ้าน ประกอบกับความ น่าสนใจของแหล่ง
ท่องเท่ียวในไทยท่ีนักท่องเท่ียวเต็มใจจ่าย สาหรับค่าที่พักมากกว่าเกือบเท่าตัวเทียบกับการ เท่ียวที่อ่ืน
(Thailand Premium) ทาให้การท่องเท่ียวไทยแข็งแกร่งและฟ้ืนตัวกลับมาได้เสมอ ซึ่งคาดว่าการ ท่องเท่ียว
ไทย จะสามารถฟน้ื ตวั และเติบโตได้ประมาณ 8-10% ขึ้นเร่ือยๆ และมีจานวนนักท่องเท่ียวต่างชาติ มากเป็น
ประวัติการณ์ถึงราว 15 ล้านคน แต่หากเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองที่รุนแรงข้ึน จะทาให้ การ
ท่องเที่ยวไทยฟ้ืนตัวน้อยกว่าที่คาด ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงและความยืดเยื้อของเหตุการณ์ (สมาคม
การตลาดเพื่อการทอ่ งเทย่ี ว, 2555, ม.ป.ป.) สถานการณ์ทีส่ าคญั ตอ่ แนวโนม้ นนั ทนาการการท่องเท่ยี ว

1. ประเทศไทยต้องประสบกับปัญหาวิกฤตและความเสี่ยงด้านการท่องเที่ยว จากสถานการณ์ทาง
การเมอื งยังคงส่งผลกระทบต่อการทอ่ งเท่ยี ว

2. จานวนนักท่องเท่ียว รายได้ ค่าใช้จ่าย และวันพักเฉล่ียของนักท่องเท่ียวเพิ่มข้ึนในช่วงทศวรรษท่ี
ผ่านมา

3. นกั ทอ่ งเท่ียวจากกล่มุ ประเทศเอเชยี ตะวันออกและยโุ รปเป็นกลุ่มนกั ท่องเท่ียวหลักของไทย

4. นักท่องเท่ียวไทยมีแนวโนม้ เดินทางทอ่ งเทยี่ วภายในประเทศมากข้ึน

5. กลุ่มธุรกิจโรงแรมและภัตตาคารมีบทบาทสาคัญในอุตสาหกรรมท่องเท่ียวไทย และมีส่วนสร้าง
มลู คา่ ใหธ้ รุ กจิ อนื่ ๆ

6. ระบบโลจิสติกส์และการเช่ือมโยงการท่องเที่ยวการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านปัญหาด้าน
กฎระเบยี บท่ีเช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านท่ีไม่เอ้ือต่อการท่องเท่ียวในบางเส้นทางตลอดจนปัญหาการขาด
ศกั ยภาพของผปู้ ระกอบการไทย

7. การท่องเท่ียวไทยมีแนวโน้มได้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของภูมิอากาศโลก ความเสี่ยง
เกิดจากปัจจัยต่างๆ เช่นนา้ ท่วมฉับพลนั นา้ ทว่ มขัง การกดั เซาะ ไฟป่า ระบบนเิ วศ และโรคระบาด เปน็ ตน้

8. ประเทศไทยยังคงมีจุดอ่อนในด้านความปลอดภัย กฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม สุขอนามัย และ
นโยบายรฐั บาล

9. มีการกระจายอานาจและเปิดโอกาสให้ชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการมากขึ้น
ดงั น้ัน การรบั มือกับสถานการณ์ของนันทนาการการท่องเท่ียวของประเทศไทย จึงเป็นส่ิงที่หน่วยงาน ภาครัฐ
และเอกชน จะต้องให้ความสาคัญ โดยเฉพาะการสร้างความสงบเรยี บร้อยในทางการเมืองของประเทศให้ เข้าสู่
สภาวะปกติให้เร็วทีส่ ุด เพ่อื สรา้ งความมั่นใจใหก้ บั นักลงทนุ นักทอ่ งเท่ียว การสง่ เสริมกจิ กรรมนันทนาการ การ
ทอ่ งเที่ยวของนักท่องเท่ียวต่างชาติ เน้นจุดเด่นทางวัฒนธรรมและแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โดยการเปิด
ตลาดการท่องเท่ียว การประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียวในต่างประเทศ การส่งเสริมกิจกรรมนันทนาการการ
ท่องเทย่ี วของนักท่องเทย่ี วในประเทศ ให้เดนิ ทางท่องเทีย่ วในประเทศ ฟ้ืนฟูแหล่งท่องเท่ียวตามธรรมชาติให้มี
ความสมบูรณแ์ ละสวยงาม และเพม่ิ ความน่าสนใจของแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วท่เี กิดข้ึนใหม่

นนั ทนาการการทอ่ งเท่ยี วกบั การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 นี้ ประเทศไทยได้ก้าว
เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภาครัฐและภาคธุรกิจทุก แขนง ต้องต่ืนตัว และเรียนรู้ภาษา
วฒั นธรรม ตลอดจนวิถชี วี ิตความเป็นอยู่ของเพ่อื นบา้ นในกลุม่ อาเซียน ดว้ ยกนั ให้มากข้ึน เพ่ือเป็นการเปิดโลก
กวา้ ง และเป็นจุดเรม่ิ ต้นการเตรยี มความพรอ้ มกา้ วสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซยี นในอนาคต การเปิดเสรีบริการ
ด้านนันทนาการการท่องเที่ยว ซ่ึงรวมถึงอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว ที่รวม ธุรกิจท่องเที่ยวและบริการที่
เกี่ยวเน่อื งภายใตก้ รอบอาเซยี นแตข่ ณะเดียวกันก็ทาให้มคี วามเป็นไปได้สูงว่า แนวโนม้ การแข่งขันในอนาคตจะ
ยง่ิ ทวคี วามเข้มขน้ เพิม่ มากขน้ึ อยา่ งแน่นอน การเปดิ โอกาสใหช้ าวต่างชาติเขา้ มา ลงทุนในเมืองไทยด้วยการถือ
ครองสัดส่วนการถือหุ้นท่ีเพ่ิมมากขึ้น จากคู่แข่งท้ังรายเดิมและรายใหม่ท่ีต้องการ เข้าสู่ตลาดเพื่อช่วงชิงส่วน
แบ่งในตลาดการให้บริการด้านการท่องเที่ยวท่ีคาดว่าจะมีขนาดใหญ่ขึ้นตามแนวโน้ม มูลค่าเศรษฐกิจของ
ภูมิภาคอาเซียน (การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย, 2557, ม.ป.ป.) จานวนนักท่องเที่ยวจากประเทศอาเซียน
(ASEAN) ทใี่ ห้ความนยิ มมาทอ่ งเท่ียวในประเทศไทยมาก ท่สี ดุ คอื มาเลเซีย ลาว และ สิงค์โปร์ตามลาดับ และ
เห็นได้ชัดว่าจานวนนักท่องเที่ยวของทุกประเทศที่เข้ามา ท่องเท่ียวในปี 2554 มีจานวนเพ่ิมข้ึนจากปี 2553
ทุกประเทศ สาหรับสถานการณ์ตลาดภายในประเทศนั้น ภาคบริการด้านนันทนาการการท่องเที่ยวของไทย
นับว่ามีศักยภาพค่อนข้างสูงทั้งในส่วนของความพร้อมในการ ให้บริการแก่ชาวต่างชาติ และสิ่งอานวยความ
สะดวกต่างๆ สูง (การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย, 2557, ม.ป.ป.) ซึ่งการเปิดเสรีภาคการท่องเท่ียวน่าจะช่วย
สนับสนุนให้ธุรกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยวมีรายได้เพ่ิมข้ึนจากจานวน นักท่องเท่ียวต่างชาติที่คาดว่าจะเดิน
ทางเข้ามาทอ่ งเที่ยวในประเทศเพิ่มมากขึ้น เพื่อเข้ามาใช้บริการโดยเฉพาะ ด้านโรงแรมท่ีพักซ่ึงเป็นเครือข่าย
ของบรรดานักลงทุนต่างชาติที่เข้ามาลงทุนในไทย อันจะก่อให้เกิดการกระจาย รายได้ไปยังกิจกรรมต่างๆ ที่

เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเพ่ิมข้ึนตามมา ผู้ประกอบการไทยควรเร่งปรับตัวโดยใช้ ประโยชน์จากการเป็น
อาเซยี นเพอื่ เพิม่ ส่วนแบง่ ตลาด รวมทง้ั การปรับกลยุทธ์ทางธุรกิจโดยอาศัยจุดแข็งของภาค การท่องเที่ยวของ
ไทยโดยเฉพาะการเปน็ ที่ยอมรบั ในดา้ นการเปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางธรรมชาติท่ีงดงาม ความมี อัธยาศัยไมตรีที่
ดีของคนไทย การมีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์และรสชาติอาหารท่ีได้รับความ นิยมอย่าง
กว้างขวาง ธรุ กิจจาหน่ายสินคา้ ของทีร่ ะลกึ รวมถึงส่งิ อานวยความสะดวกอ่ืนๆ เช่น ระบบการชาระเงิน ที่ควร
เพ่ิมความสะดวกเร่ืองการชาระเงินผ่านบัตรเครดิต บัตรเงินสดมากขึ้นขณะเดียวกันควรใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ให้ข้อมูลสนับสนุนการท่องเท่ียวมากข้ึน มีการพัฒนาด้านแอพพลิเคชั่น รวมท้ังเว็บไซต์ เพ่ือให้
ข้อมูล นกั ทอ่ งเที่ยว อานวยความสะดวกการจอง รวมท้ังใช้ช่องทางน้ีให้นักท่องเที่ยวได้แบ่งปันประสบการณ์
ทอ่ งเทีย่ ว (ณชิ านนั ท์ เอ่ียมเพช็ ร, 2556, หนา้ 2) การเร่งปรับตัวของภาครัฐและภาคเอกชน ที่สนับสนุนธุรกิจ
และการบรกิ ารทางดา้ นนันทนาการการ ท่องเที่ยว การพัฒนากาลังคน โดยเฉพาะทางด้านภาษา การสื่อสาร
ซ่ึงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนใช้ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีใช้ในการส่ือสารระหว่างกัน นอกเหนือจากภาษา
ประจาชาติของแต่ละประเทศ ซ่ึงนโยบายทางการศึกษาของประเทศจะต้องเร่งปรับตัว ทั้งทางด้านหลักสูตร
การเรียนการสอนของทุกระดับ การพัฒนาครูอาจารย์ทางด้านภาษาอังกฤษ ตลอดจนการส่งเสริมภาษาของ
ประเทศอาเซียน เช่น ภาษามาลายู ซ่ึงเป็นภาษาที่มีประชากรของประเทศในกลุ่มอาเซียนใช้มากที่สุด โดย
ประเทศท่ีใชภ้ าษามาลายู ได้แก่ อินโดนเี ซีย มาเลเซยี บรไู น

นันทนาการการท่องเท่ียวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจุบันกิจการและโปรแกรมนันทนาการได้รับ
ความสนใจในชุมชนและสังคมของทุกประเทศ ทั้งนี้ เนื่องจากความต้องการเข้าร่วมกิจกรรมในช่วงเวลาว่าง
และเวลาอสิ ระของชมุ ชนมีมากข้ึนและถือเป็นส่วนหนึ่ง ของการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยปกติองค์กรภาครัฐมี
หน้าที่ที่จะต้องจัดแหล่งนันทนาการต่างๆ เพื่อเป็นสวัสดิการ ทางสังคมให้แก่ประชาชน แต่การจัดแหล่ง
นันทนาการและกจิ กรรมนันทนาการนน้ั ตอ้ งใชง้ บประมาณ ใชก้ าลัง บุคลากรในการดาเนินการจัดสถานที่และ
ส่งิ อานวยความสะดวก แต่เนื่องจากมีขีดจากัดในด้านการให้บริการ ผู้ดาเนินงานด้านเอกชน บริษัทธุรกิจ จึง
เข้ามามีบทบาทในการจัดกิจกรรมนันทนาการและแหล่งนันทนาการใน รูปแบบต่างๆ เพื่อเปิดโอกาสให้
ประชาชนมสี ทิ ธเิ ลอื กตามความพึงพอใจ ดังนน้ั ธรุ กิจดา้ นนันทนาการจึงมีรูปแบบ ท่ีหลากหลายและเป็นธุรกิจ
ที่ได้รบั ความนยิ มสงู เช่น การจัดคันทรีคลับ สโมสรกีฬา ชมรม หรือกลุ่มท่ีมีความ สนใจในด้านเดียวกัน เป็น
ต้น (สมบัติ กาญจนกิจ, 2544, หน้า 58) การสร้างธุรกิจขึ้นมาเพ่ือตอบสนองความต้องการของมนุษย์ โดยมี
ผู้ประกอบการท้ังรัฐบาลและเอกชน เป็นผู้ดาเนินงาน ส่วนที่รัฐบาลเป็นผู้ดาเนินงาน เช่น การจัดกิจกรรม
สนับสนุนการท่องเทย่ี วภายในประเทศ การจัดการการขนส่งและคมนาคม การกระตุ้นเศรษฐกิจการท่องเที่ยว
ดว้ ยประเพณี วัฒนธรรม และเทศกาล ต่างๆ ของการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย (ททท.) เป็นต้น ส่วนท่ีเป็น
ของหน่วยงานเอกชนจะเปน็ ในด้านของทพ่ี ัก โรงแรม รสี อร์ท โปรแกรมท่องเที่ยว การเดินทาง เช่น โปรโมช่ัน
การขนส่งทางอากาศของแต่ละบริษัท เป็นต้น สโมสรทางด้านกีฬา เช่น กอล์ฟ โบว์ลิ่ง ว่ายน้า เป็นต้น
กิจกรรมนันทนาการการทอ่ งเทย่ี วเก่ยี วขอ้ งกับเศรษฐกิจมากทสี่ ุด โดยสามารถสร้างรายได้ให้กับ ประเทศมาก
เป็นอันดับหนึ่งของประเทศคอื อตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว จากขอ้ มูลสภาอตุ สาหกรรมท่องเท่ียวแห่ง ประเทศไทย
(สทท.) (2557, หนา้ 4) รายงานสถานการณ์ท่องเที่ยวตลอดปี2556 และแนวโน้มการท่องเที่ยวใน ปี2557 ว่า
ในระยะ 11 เดือนแรกของป2ี 556 จานวนนกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาตเิ พ่มิ ขึ้นถงึ ร้อยละ 21 คาดว่าจะมี นักท่องเที่ยว
ต่างชาติตลอดปี2556 ประมาณ 26.69 ล้านคนสร้างรายได้1.16 ล้านล้านบาทและปี2557 คาดว่าจะมี
นักท่องเท่ียวประมาณ 29.92 ล้านคนเพิ่มข้ึนร้อยละ 12.1 สร้างรายได้ถึง 1.35 ล้านล้านบาท อุตสาหกรรม
ทอ่ งเทีย่ วมคี วามเกย่ี วข้องกับธุรกิจการบริการ เพราะการบริการคือหัวใจหลักของธุรกิจการ ท่องเที่ยว ธุรกิจ

ทอ่ งเทย่ี วเปน็ ธรุ กจิ ขายบรกิ ารให้กับนักท่องเท่ียว วัตถุดิบท่ีสาคัญของธุรกิจท่องเที่ยวได้แก่ สถานที่ท่องเท่ียว

ประกอบด้วยสถานท่ีหรือแหล่งท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นสถานท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือ เกิดขึ้นด้วยการ
สร้างของมนษุ ย์ประเทศไทยเป็นประเทศทรี่ า่ รวยดา้ นทรัพยากรการท่องเที่ยว มีท้ังสถานที่ ท่องเท่ียวที่เกิดขึ้น

เองโดยธรรมชาติได้แก่ ทะเล หาดทราย ภูเขา ป่าไม้ แม่น้า ลาคลอง สถานท่ีท่องเที่ยวท่ี สาคัญทาง
ประวัติศาสตร์ได้แก่ เมือง โบราณสถาน และโบราณวัตถุ สถานท่ีท่องเที่ยวทางด้านศิลปวัฒนธรรม ได้แก่
หมูบ่ า้ นและชมุ ชนตา่ งๆ ซง่ึ ประกอบดว้ ยวฒั นธรรม ชีวติ ความเป็นอยู่ และศิลปวัตถุ ท่ีมีความแตกต่าง เฉพาะ

ชุมชนมากมายหลายแห่งทั่วทุกภาคของประเทศ (ชาญโชติ ชมพูนุท, 2549, ม.ป.ป.) ธุรกิจท่องเที่ยว
ครอบคลุมถึงธุรกิจต่างๆ หลายธุรกิจ ประกอบด้วยธุรกิจด้านการคมนาคม เช่น ธุรกิจการบิน ธุรกิจเดินเรือ

ธรุ กิจ เดินรถ ธุรกิจดา้ นที่พกั ได้แกธ่ ุรกิจโรงแรม ธรุ กิจเกสท์เฮาส์ ธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจร้านขายของท่ีระลึก
ธรุ กจิ บันเทงิ ตา่ งๆ ธรุ กจิ ดังกลา่ วเป็นธรุ กจิ ท่ใี ห้บริการลกู คา้ ทุกกลุ่มไมใ่ ช่เฉพาะนกั ทอ่ งเทยี่ วเท่าน้ัน ซ่ึงธุรกิจท่ี
เกี่ยวข้องกับนักท่องเท่ียวตรงๆได้แก่ธุรกิจบริการนาเท่ียว ผู้ประกอบการธุรกิจบริการนาเท่ียว จะต้องนา

วตั ถดุ บิ ของการท่องเทย่ี ว ได้แก่ สถานทีท่ อ่ งเทย่ี ว และเรื่องราวตา่ งๆของสถานทที่ อ่ งเทย่ี วเหลา่ น้ัน มาผูกเป็น
เร่อื งราว เพ่ือนาเสนอใหก้ บั นกั ทอ่ งเทยี่ ว

โครงสร้างของนนั ทนาการการท่องเทีย่ ว

นกั ทอ่ งเที่ยว ผ้ผู ลติ นักทอ่ งเที่ยว

การบริการของภาครฐั การบรกิ ารของภาคเอกชน
- องคก์ ารนกั ทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ
- บริษทั นาเทย่ี ว
- องค์การทอ่ งเทย่ี วสว่ นภมู ิภาค - บริการมัคคุเทศก์
- อทุ ยานแหง่ ชาติ
- การบรกิ ารท่าเรอื - แลกเปลยี่ นเงนิ ตรา
- วิซา่ และพาสปอร์ต - ขา่ วสารการทอ่ งเท่ยี ว
- การประกนั ทอ่ งเทย่ี ว

การคมนาคมขนส่ง ท่พี กั อาหารและของที่ จุดสนใจทางการทอ่ งเทย่ี ว
- การขนสง่ ทางอากาศ - โรงแรม มนษุ ย์สร้างขนึ้ / ทางธรรมชาติ
- การขนสง่ ทางนา้ - เกสเฮา้ ส์ ระลกึ - โบราณสถาน - หาดทราย
- การขนสง่ ทางบก - รา้ นอาหาร
- อพาทเมน้ ท์ - ภตั ตาคาร - สวนสนุก - ชายทะเล
- บ้านพกั - วัดวาอาราม - ถ้า, น้าตก
- คาเฟ่
- ของที่ระลึก - พิพธิ ภณั ฑ์ - อทุ ยานแห่งชาติ
- ของฝาก

จากทไ่ี ดก้ ล่าวมาข้างตน้ กจิ กรรมนนั ทนาการการท่องเที่ยวสามารถนามาเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจของประเทศใน
หลากหลายด้าน ทั้งด้านธุรกิจโรงแรมที่พัก การคมนาคมและขนส่ง การติดต่อเจรจาธุรกิจ ธุรกิจการบริการ
และในด้านอ่ืนๆท่ีไม่ได้กล่าวถึง จะเห็นได้ว่ากิจกรรมนันทนาการการท่องเที่ยว มีความสาคัญต่อพัฒนาการ
เศรษฐกิจของประเทศ การช่วยกันรักษา อนุรักษ์ทรัพยากรทางนันทนาการการท่องเท่ียว ท้ังทาง ธรรมชาติ
เช่น ภูเขา ป่าไม้ น้าตกชายทะเล ชายหาด ฯลฯ และแหล่งท่องเท่ียวทางศิลปวัฒนธรรม ประเพณี เช่น
โบราณสถาน วัดวาอาราม จารีตประเพณี วิถีชวี ติ ความเปน็ อยู่ที่เป็นเอกลักษณ์ของไทย ให้คงอยู่คู่กับประเทศ
ไทย เพื่อเป็นจุดสนใจของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ที่จะมาทากิจกรรมนันทนาการการ
ท่องเที่ยว มาจบั จ่ายใช้สอย เพ่อื พัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศตอ่ ไป

แนวทางการพฒั นานันทนาการการท่องเทีย่ วเพือ่ การพัฒนาประเทศ
จากแผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแหง่ ชาติพ.ศ. 2555–2559 ไดก้ าหนดยุทธศาสตรอ์ อกเป็น 5 ยุทธศาสตร์ดังนี้
1) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอานวยความสะดวกเพือ่ การท่องเทีย่ ว
2) การพฒั นาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวใหเ้ กิดความยง่ั ยืน
3) การพฒั นาสินคา้ บริการและปจั จัยสนับสนุนการท่องเทีย่ ว
4) การสร้างความเชอ่ื ม่ันและสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียว
5) การสง่ เสรมิ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของภาครฐั ภาคประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการบริหาร
จดั การทรพั ยากรการท่องเที่ยว
ในการพัฒนานันทนาการการท่องเท่ียวควรนาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติฉบับดังกล่าวมาสู่การปฏิบัติ
โดยมกี ารกาหนดแนวทางการพัฒนา ดังตอ่ ไปน้ี

การนานโยบายของรัฐบาลไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ จากแผนพัฒนาการ
ท่องเทีย่ วแหง่ ชาติ พ.ศ. 2555–2559
หน่วยงานภาครัฐ
- กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า
- การท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย
- ส่วนราชการระดบั ท้องถ่นิ
- สถาบันการศกึ ษา

ภาคเอกชน ภาคประชาชน
- การบริการของภาคเอกชน
- ร่วมกนั วางแผน
- การคมนาคมขนสง่ - ร่วมกันปฏิบัติตามแผน
- ท่ีพกั
- รว่ มกนั ใช้ประโยชน์
- อาหารและของทร่ี ะลึก - ร่วมติดตามและประเมนิ ผล

- แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วเอกชน - ร่วมบารงุ รักษา

1. หนว่ ยงานภาครัฐ การนานโยบายของรัฐบาลไปสูก่ ารปฏิบัติ การถ่ายทอดแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ

พ.ศ. 2555-2559 ไปสู่การปฏิบัติ ในระดับต่างๆ โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจ จัดให้มีกระบวนการสร้าง
ความรแู้ ละการมีสว่ นรว่ มจากทกุ ภาคสว่ นให้เข้าใจในเน้ือหาสาระสาคัญของแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ
โดยเฉพาะภารกิจและบทบาทของตนที่จะสนับสนุนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ การเสริมสร้าง การนา

นโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติ จากแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 โดยเฉพาะ
ภารกิจและบทบาทของตนท่ีจะสนับสนุนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ การเสริมสร้างศักยภาพ เพื่อเตรียม

ความพร้อมของหนว่ ยงาน องค์กรต่างๆ เพ่อื ให้เกดิ การขบั เคล่ือนการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
แห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559
1.1 กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา ซ่ึงมีสานักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัด เป็นหน่วยงานหลักในการ

ประสาน สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ และให้คาแนะนาแก่ส่วนราชการอ่ืนๆ ในการสนับสนุนเชิงนโยบายและการ
ดาเนินการตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 และจัดทาคู่มือการแปลงแผนไปสู่การ

ปฏิบัติ และหน่วยงานท่ีรับผิดชอบมาตรการ/แนวทางในแผนฯ การพฒั นาทรพั ยากรการท่องเท่ียวร่วมกัน การ
สร้างภาคเี ครอื ข่ายการบรหิ ารจัดการด้านนันทนาการการท่องเที่ยวกับหน่วยงานต่างๆโดยเป็นแกนนาในการ
สรา้ งเครอื ขา่ ยการพฒั นา

1.2 การทอ่ งเท่ียวแห่งประเทศไทย ควรเสรมิ สรา้ งภาพลักษณ์ประเทศไทย หลังจากปัญหาวิกฤตทางการเมือง
ซึง่ ประเทศไทยได้กลบั เขา้ ภาวะปกติ นกั ท่องเทย่ี วชาวไทยและชาวต่างประเทศสามารถเดินทางท่องในประเทศ

ไทยได้อย่างปกติการให้ความสาคัญกับการส่งเสริมตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติควบคู่กับการส่งเสริมตลาดคน
ไทยส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างสรรค์สินค้า การท่องเที่ยวท่ีมีเอกลักษณ์ของไทยให้เกิดมูลค่า (Value
Oriented) ในสนิ ค้าและบริการเป็นศูนยก์ ลางด้านการตลาดการท่องเท่ยี ว ในภูมิภาคอาเซียนพร้อมท้ังผลักดัน

ให้มีการดาเนินงานเชิงรุกในการกาหนดทิศทางด้านการท่องเที่ยวของประเทศ และพัฒนาระบบสารสนเทศ
องค์กรและการบรหิ ารจดั การเชิงคุณภาพตามมาตรฐานสากล รวมทั้งการลดระยะเวลาและข้ันตอนการทางาน

ให้คล่องตัวมากขน้ึ มีประสิทธภิ าพ โปร่งใส ควบคุม และตรวจสอบได้
1.3 ส่วนราชการระดับท้องถิ่น ได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล ควร
ดาเนินภารกิจด้านการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวในพ้ืนที่ควรสนับสนุนให้ทุก

ฝ่าย เข้ามาร่วมในคณะกรรมการพัฒนาการท่องเท่ียวระดับพื้นที่ เพื่อให้การพัฒนาการท่องเที่ยวไทยเพื่อให้
ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงของอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ันจาเป็นต้องยกระดับ

การบริการในดา้ นตา่ งๆ ดงั นเ้ี ช่น การอานวยความสะดวกในการตรวจคนเข้าเมืองท้ัง ณ จุดเข้าออกชายแดน
และสนามบิน ความเป็นมืออาชีพของบคุ ลากรในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ทั้งด้านการให้บริการของภาคเอกชน
และภาครัฐทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของบุคลากรในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และการเตรียมความ

พร้อมของภาคส่วนต่างๆ การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานด้านนนั ทนาการการทอ่ เท่ยี ว ไดแ้ ก่ อุปกรณ์ สถานที่
สงิ่ อานวยความสะดวก ถนนหนทาง การคมนาคมขนส่งทป่ี ลอดภยั และมปี ระสิทธิภาพ การพฒั นาและฟน้ื ฟู

แหล่งทอ่ งเท่ียวใหเ้ กิดความยั่งยนื โดยมุง่ เน้นการฟื้นฟแู หลง่ ท่องเทีย่ วเส่ือมโทรมใหม้ คี วามสมบรู ณด์ งั เดิมเพ่ือ
รองรับการร่วมมือของประชาคมอาเซยี น ด้านประชาสงั คม และวัฒนธรรมอาเซยี น
1.4 สถาบันการศึกษา การสนับสนุนให้เกิดการเรียนในสถานศึกษา การเพ่ิมประสิทธิภาพของหลักสูตร การ

เรียนการสอนทางด้านการท่องเที่ยว การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของบุคลากรในอุตสาหกรรม

การท่องเที่ยว การผลิตบุคลากรทางด้านนันทนาการการท่องเที่ยว เช่น มัคคุเทศก์ ให้มีความรู้ความสามารถ
การส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาที่อยู่ในชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาองค์ความรู้ด้าน นันทนาการการ
ทอ่ งเทย่ี ว การจดั การการทอ่ งเท่ียว การเป็นผ้ปู ระกอบการการท่องเที่ยว ตลอดจนการพัฒนานกั เรยี นนกั ศกึ ษา
ให้เป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นในการบริการการท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและต่างประเทศ การเผยแพร่แนวคิด วิธีการ
ปลูกฝังทัศนคตจิ ริยธรรมในการร่วมกนั ดแู ลรักษาแหลง่ ทอ่ งเท่ียวและการบรกิ ารอยา่ งมจี ริยธรรม
2. ภาคเอกชน ตอ้ งคานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน ผู้รับบริการ ไม่ทาลายคุณค่าทางวัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม มีการจัดการที่โปร่งใส เป็นธรรมในการประกอบธุรกิจ และเข้ามามีบทบาทร่วมจัดบริการสังคม
และกิจกรรมสร้างสรรค์อ่ืนๆ ร่วมกับภาครัฐ ได้แก่ธุรกิจการบริการการคมนาคมขนส่งที่พักอาหารและของท่ี
ระลึกและแหล่งท่องเที่ยวเอกชน
3. ภาคประชาชนส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนา
ท่องเที่ยว การอานวยความสะดวก สนับสนุน ช่วยเหลือ ให้ความรู้ความเข้าใจในการบริหารจัดด้าน
นันทนาการการท่องเท่ียวแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระจายอานาจ และจัดสรรผลประโยชน์ด้าน
นันทนาการการท่องเท่ยี วใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ เพอื่ ให้ประชาชนชุมชนไดร้ บั ผลประโยชน์อยา่ งเป็น
ธรรม เพื่อลดความขดั แยง้ และสามารถสรา้ งกิจกรรมให้เหมาะสมกบั ความต้อง การสภาพและกาลังรองรับของ
ชุมชนและระบบนิเวศในทอ้ งถิน่ ส่งเสรมิ การมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนทอ้ งถิน่ ในการบรหิ ารจัดการแหล่งท่องเทีย่ ว
โดยมีกระบวนการดงั น้ี
3.1 ร่วมกันวางแผน

3.1.1 ร่วมคดิ รว่ มวางแผนจัดการเตรยี มความพร้อมและสิ่งอานวยความสะดวกในชุมชน
3.1.2 ร่วมประชมุ เสนอแนะและใหค้ วามเหน็ ต่อแผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยว
3.1.3 ร่วมบรหิ ารจดั การและแบ่งหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ
3.1.4 ร่วมกาหนดกฎระเบยี บตา่ งๆ ของราคาของสินค้าและบริการอย่างไดม้ าตรฐาน
3.1.5 ร่วมจดั การสิ่งแวดล้อมเพือ่ ปอ้ งกนั ความเสือ่ มโทรมของแหล่งท่องเท่ยี ว
3.2 ร่วมกนั ปฏบิ ัติตามแผน
ประชาชนในทอ้ งถ่ินตอ้ งรว่ มกนั ปฏิบตั ิหน้าทท่ี ี่วางไวต้ ามแผนเพอ่ื ให้บรรลเุ ปา้ หมายของแผนท่วี างไว้
3.3 รว่ มกนั ใช้ประโยชน์
ประชาชนในทอ้ งถิ่นมีสิทธิใ์ ชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากรท่องเท่ยี วในท้องถิ่น ด้วยความตระหนกั และหวงแหน จึง
ต้องแบง่ ปันผลประโยชน์อย่างยุตธิ รรมและทวั่ ถงึ เพื่อสรา้ งความรสู้ กึ เปน็ เจา้ ของ อันจะกระตุ้นให้กิจกรรมการ
ท่องเที่ยวในท้องถ่ินดาเนินต่อไปไดอ้ ย่างย่ังยืน
3.4 รว่ มตดิ ตามและประเมินผล
การตดิ ตามและประเมินผลเปน็ การตรวจสอบและควบคุมให้การดาเนินงานบรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้ ท้ังนี้หาก
พบปัญหาหรืออปุ สรรคกส็ ามารถแก้ไขได้ทันท่วงที ซึ่งขนั้ ตอนนี้อาจพบบทเรียนหรือวิธีการใหมๆ่ ท่ีเป็นแนวทาง
ในการดาเนนิ งานต่อไปได้
3.5 รว่ มบารงุ รักษา
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรการท่องเที่ยวแล้ว จะต้องร่วมกันบารุงรักษา เพ่ือให้คงอยู่ในสภาพสมบูรณ์
สามารถรองรบั นกั ทอ่ งเท่ยี ว และเปน็ สงิ่ ดงึ ดูดใจนักท่องเท่ียวได้ตอ่ ไป

สรปุ

บทบาทของนันทนาการการท่องเท่ียวในการพัฒนาประเทศดังที่กล่าวมา แล้วข้างต้นน้ันมี

ความสาคัญต่อการพฒั นาประเทศเปน็ อย่างย่งิ การพฒั นานันทนาการการท่องเท่ียวจึงเป็นส่ิงสาคัญอย่างยิ่งท่ี
ทุกภาคส่วนจะให้ความร่วมมือในการพัฒนาด้านนันทนาการ ทุกหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

ผู้ประกอบการธรุ กิจขนาดใหญ่ ขนาดเลก็ ธุรกิจการบริการ ประชาชน ตลอดจนผู้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ
ทุกเพศทกุ วัย จะต้องสรา้ งมาตรฐานในดา้ นนนั ทนาการใหม้ คี ณุ ภาพมากย่ิงข้ึน ให้สามารถแข่งขันในเวทีโลกได้
ซึ่งประเทศไทยมีทรัพยากรทางด้านนันทนาการการท่องเท่ียวท่ีสามารถแข่งขันกับประเทศต่างๆ ได้ ท้ัง

ทรัพยากรนันทนาการท่ีเป็นจุดเด่นของประเทศ คือ หาดทราย ชายทะเล หมู่เกาะน้อยใหญ่ และ
ทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมท่ีมีความโดดเด่นของแต่ละภูมิภาค อีกทั้งการมี

ธรุ กิจบริการ ได้แก่ โรงแรมที่พัก สปาในรูปแบบ ตา่ ง ๆ การคมนาคมขนส่ง การท่องเท่ียว และที่สาคัญคือการ
มีระเบียบวินัยในการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ การท่องเท่ียวของประชาชนทั่วไป จะต้องช่วยกันอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ตลอดจนรักษาประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามให้คงอยู่ เพ่ือ

ประเทศชาติจะได้มีพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ได้ทั้งความสุข สนุกสนานเพลิดเพลินด้วยกิจกรรมนันทนาการ ควบคู่
กับการพัฒนาประเทศในทกุ ๆ ด้านไปด้วยกนั