ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
  
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
               
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
   
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
  
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

            องค์ของระบบนิเวศประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ไม่มีชีวิต และส่วนที่มีชีวิต ซึ่งความสัมพันธ์ มี 2 ลักษณะ คือ ระหว่างสิ่งมีชีวิต

กับสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิตด้วยกัน

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
                                   
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

     สิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ จะต้องมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งที่มีชีวิตและ ไม่มีชีวิต สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตใน

ธรรมชาติที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ได้แก่

            1.            อากาศ ประกอบด้วยแก๊สต่างๆ ได้แก่ แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สไน โตรเจน ฝุ่นละออง และแก๊สอื่นๆ

            2.            น้ำ เป็นสิ่งจำเป็นต่อการสร้างอาหารของพืช และการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด

            3.            ดิน ซึ่งในแต่ละชนิดของดิน จะประกอบด้วยอินทรีย์วัตถุในดิน และแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ ต่อพืช เป็นปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง

            4.            อุณหภูมิ เป็นระดับความร้อนของน้ำ อากาศ ดิน ซากพืช ซากสัตว์ มีผลต่อการดำรงชีวิต ของพืชและสัตว์ ถ้าสิ่งแวดล้อมมีอุณหภูมิสูงหรือต่ำเกินไป สิ่งมีชีวิตก็ดำรงชีวิตอยู่ไม่ได้

            5.            ความชื้น แสดงถึงปริมาณไอน้ำที่มีอยู่ในดิน อากาศ ซากสิ่งไม่มีชีวิต ถ้ามีไอน้ำปนอยู่มาก ความชื้นจะสูง ถ้ามีไอน้ำปนอยู่น้อย ความชื้นจะต่ำ ความชุ่มชื้นที่พอเหมาะมีผลต่อการ เจริญเติบโตของพืช และการอยู่อาศัยของสัตว์หลายชนิด

            6.            แสงสว่าง ได้แก่ แสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต ดังนี้

o             ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง หรือการสร้างอาหารของพืช

o             เป็นปัจจัยในการกำหนดเวลาในการออกหากินของสัตว์บางชนิด เช่น ค้างคาวออกหากินในเวลาในเวลากลางคืน

            7.            แก๊สต่างๆ ได้แก่ แก๊สออกซิเจนเป็นแก๊สที่คน สัตว์ พืช ใช้ในการหายใจ และคายแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา

     สิ่งแวดล้อมเหล่านี้ถ้าอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม ก็จะช่วยให้สิ่งมีชีวิตดำรงชีวิตได้อย่างปกติ แต่ ถ้าไม่อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม ก็จะ

ทำให้เกิดอันตราย จนไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
                                
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

                 ในธรรมชาติ เรามักพบว่าสิ่งมีชีวิตหลายชนิดอาศัยอยู่ร่วมกัน ซึ่งเราเรียกว่า กลุ่มสิ่งมีชีวิต ซึ่ง อาศัยอยู่แบบกระจัดกระจายใน

บริเวณแหล่งที่อยู่แตกต่างกัน ได้แก่ ในสระน้ำจืด ในทะเล ในป่า และกลุ่มสิ่งมีชีวิตใต้ขอนไม้ผุ เป็นต้น

                 สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศทั้ง 3 กลุ่ม คือ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลาย อินทรีย์สาร มีความสัมพันธ์กันหลายด้าน เช่น ความสัมพันธ์ในแง่ของการเป็นอาหาร การถ่าย ทอดพลังงานกันเป็นทอดๆ ในห่วงโซ่อาหาร ความสัมพันธ์ในแง่ของการอยู่ร่วมกัน

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

             โซ่อาหาร หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ในลักษณะของการกินต่อกันเป็น ทอดๆ ทุกๆ ห่วงโซ่อาหารจะ

ต้องเริ่มต้นด้วยพืช ซึ่งเป็นผู้ผลิตทุกครั้ง

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

                         กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งเดียวกัน มีความสัมพันธ์กัน ดังนี้

            1.            ต่างฝ่ายต่างให้ประโยชน์ซึ่งกันและกัน

            2.            ฝ่ายหนึ่งให้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์ แต่ก็ไม่เสียประโยชน์

            3.            ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

         

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
  1.            ได้ประโยชน์ร่วมกัน ( +,+ ) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ ร่วมกัน เมื่อแยกกันอยู่สิ่งมี

ชีวิตทั้งสองสามารถมีชีวิตอยู่ได้เป็นปกติ เช่น แมลงกับดอกไม้ แมลงได้ประโยชน์จากดอกไม้ คือแมลงได้กินน้ำหวานจากดอกไม้ ส่วน

ดอกไม้ได้แมลงใน การถ่ายเรณู มดดำกับเพลี้ย มดดำได้รับประโยชน์จากเพลี้ย โดยมดดำจะรีดน้ำหวานจาก เพลี้ยเป็นอาหาร ส่วนเพลี้ย

ได้รับการคุ้มครองจากมดดำ ควายกับนกเอี้ยง ควายได้ประ โยชน์จากนกเอี้ยง คือนกเอี้ยงจะมาช่วยกำจัดเห็บหรือแมลงที่มาเกาะบน

หลังควาย และ นกเอี้ยงก็ได้เห็บและแมลงเหล่านั้นเป็นอาหาร

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
                   
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

         

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
  2.            การอาศัยพึ่งพากัน ( +,+ )    คือสิ่งมีชีวิตที่อยู่ร่วมกันต่างได้รับประโยชน์ซึ่งกันและกัน และ จำเป็นที่จะต้องอยู่ด้วยกันตลอดไป จะแยกจากกันไม่ได้ ถ้าแยกจากกันไม่สามารถมีชีวิต อยู่ได้ เช่น ไลเคน (lichens) เป็นการอยู่ร่วมกันระหว่างสาหร่ายกับรา

 โดยสาหร่ายได้รับ ความชื้น และแร่ธาตุบางชนิดจากรา ส่วนราได้รับอาหารจากสาหร่าย ปลวกกับพัวโทซัว ที่อาศัยอยู่ในลำไส้ปลวก 

โดยพัวโทซัวจะทำหน้าที่ในการช่วยย่อยเซลลูโลสให้กับปลวก อาหารที่ย่อยได้จะเป็นประโยชน์กับปลวกและโพรโทซัว

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
                 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

          

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
  3.            ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ ฝ่ายหนึ่งไม่ได้ไม่เสียประโยชน์ ( +,0 ) เช่น เหาฉลามกับปลาฉลามเหาฉลามได้

ประโยชน์จากเศษอาหารที่ฉลามกิน ส่วนฉลามไม่ได้เสียประโยชน์

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
          
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

         

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
     4.            ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ ( +,- )   ได้แก่ ภาวะปรสิต เช่น เห็บกินสุนัข เห็บได้

ประโยชน์จากการดูดเลือดสุนัข และสุนัขเสีย ประโยชน์

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
                                   
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

·                     ภาวะผู้ล่า เช่น เสือกินกวาง เสือได้ประโยชน์จากการล่ากวางเป็นอาหาร กวางเสีย ประโยชน์ เพราะเป็นเหยื่อซึ่งเป็นอาหารของเสือ

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
             
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5

                       สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดำรงอยู่ได้โดยลำพัง ต้องมีการประสานสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต อื่นๆ ในระบบนิเวศการ

ประสานสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ เริ่มจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสงของพืช ทำให้เกิดสารประกอบคาร์บอน (carbon 

compound) ซึ่งเป็นสารที่ทำให้สิ่งมีชีวิต ทั้งหลายดำรงอยู่ได้ ธาตุอาหารและพลังงานที่เกิดจากพืชจะถ่ายทอดไปยังสัตว์ รวมทั้งกลุ่ม

สิ่งมี ชีวิตที่ทำหน้าที่ในการย่อยสลายซากพืช และซากสัตว์ ในที่สุดธาตุต่างๆ ที่อยู่ในลักษณะของ อาหารก็จะสลายออกสู่สิ่งแวดล้อม 

และถูกนำมาใช้อีก (recycle) การที่ธาตุต่างๆ ถ่ายเทและ สามารถอยู่ได้ ก็โดยการถ่ายเท (flow) ของพลังงานในรูปแบบต่างๆ

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
                            
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
                          
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
  

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5
              
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ ป. 5