ตารางเงินชราภาพประกันสังคม มาตรา 33

          อย่างไรก็ตาม ในอนาคตทางประกันสังคมจะเปิดโอกาสให้เราสามารถเลือกได้ว่าจะรับเงินบำเหน็จ หรือบำนาญ หลังจากเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2565 ครม. มีมติเห็นชอบในหลักการให้แก้ไขสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพ  ซึ่งก็ต้องรอดูกันว่าทางประกันสังคมจะมีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไรบ้าง หากเรา "ขอเลือก" ว่าจะรับเงินชราภาพในรูปแบบไหน และกรณี "ขอคืน" เงินชราภาพบางส่วนก่อนอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์

คำนวณเงินชราภาพประกันสังคม มาตรา 33 ww.sso.go.th เช็ควิธีคำนวณดูเลยแชร์ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล12 พฤษภาคม 2565”คำนวณเงินชราภาพประกันสังคม มาตรา 33 เช็ควิธีคำนวณเงินบำนาญชราภาพ www.sso.go.th ตรวจสอรายละเอียดทั้งหมดที่นี่

คำนวณเงินชราภาพประกันสังคม มาตรา 33 หลัง คณะรัฐมนตรี หรือ ครม.อนุมัติเห็นชอบร่าง พ.ร.บ.ประกันสังคม ฉบับใหม่ ปรับปรุงแก้ไขสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม กรณีเงินชราภาพ ให้ผู้ประกันตนที่จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน

 

โดยผู้ประกันตนมาตรา 33 สามารถนำเงินชราภาบางส่วนออกมาใช้โดยสามารถนำเงินกรณีชราภาพบางส่วนออกมาใช้ก่อน (ขอเลือก ขอคืน และขอกู้) รวมทั้งการเพิ่มสิทธิประโยชน์กรณีอื่น

 

  • ราคาทองวันนี้ล่าสุด 12 พ.ค.65 เพิ่มขึ้น 100 บาท ราคาทองคำแท่งขายออก 30,500 บาท
  • ราคาทอง 1 บาทวันนี้ 2565 เช็คราคาทองแท่ง ทองรูปพรรณ ดูเลย

แม้ ครม.อนุมัติร่างพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่...) พ.ศ.. ขั้นตอนหลังจากนี้สำนักงานประกันสังคม ส่งเรื่องให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจสอบ ถัดจากนั้นนำร่างพระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่...) พ.ศ.. นำเสอนความเห็นชอบต่อสภาพผู้แทนราษฎร คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ต้นปี 2566

 

สำหรับวิธีคำนวณคำนวณเงินบำนาญชราภาพประกันสังคม มาตรา 33 มีดังนี้

  • เงินบำนาญ คือ เงินกรณีชราภาพที่ประกันสังคมจ่ายให้ผู้ประกันตนรายเดือนตลอดชีวิต ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญชราภาพ  20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย และจะบวกเพิ่มอีก 1.5% ของระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบทุกๆ 12 เดือน

สูตรคำนวณ (กรณีจ่ายครบ 180 เดือน)

  • 20 x 15,000/100 เท่ากับ 3,000 บาท

 

สูตรคำนวณ (กรณีเกิน 180 เดือน)

  • 20+(1.5xจำนวนปี)/100x15,000

 

 

ตารางเงินชราภาพประกันสังคม มาตรา 33

 

ตารางเช็คเงินสมทบเงินบำนาญ

ระยะเวลาที่ส่งเงินสมทบ (ปี)

 

  • 15-20 ปี  ร้อยละของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย (%)  20.00-27.50  จำนวนเงิน 3,000-4,125 บาท/เดือน
  • 21-25 ปี ร้อยละของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย (%)  29.00-35.00  จำนวนเงิน 4,350-5,250 บาท/เดือน
  • 26-30 ปี ร้อยละของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย (%)  36.50 - 42.50  จำนวนเงิน 5,475 -6,375บาท/เดือน
  • 31-35 ปี ร้อยละของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย (%)  44.00 – 50.00  จำนวนเงิน 6,600  -7,500 บาท/เดือน

 

 

ตารางเงินชราภาพประกันสังคม มาตรา 33

ขั้นตอนเช็คยอดเงินสะสมดังนี้

  • คลิกไปที่ www.sso.go.th

 

ขั้นตอนการเช็กยอดเงิน

 

1. เข้าเว็บไซต์ประกันสังคม https://www.sso.go.th หลังจากนั้นเข้าสู่ระบบผู้ประกันตน / สมัครสมาชิก 

2. กรอกเลขบัตรประชาชนและรหัสผ่าน 

3. สำหรับคนที่เข้าเว็บนี้ครั้งแรกต้องทำการสมัครสมาชิก กรอกหมายเลขโทรศัพท์เพื่อรับรหัสการยืนยันตัวตน 

4. ล็อคอินเข้าระบบและเลือกผู้ประกันตน 

5. เข้าสู่หน้า “ตรวจสอบข้อมูลผู้ประกันตน” โดยจะแสดงรายละเอียดของผู้ประกันตน 

6. คลิก “ข้อมูลการส่งเงินสมทบ” จะแสดงข้อมูลปีล่าสุด และจะปรากฏจำนวนเงินที่เรานำส่งแต่ละเดือน

7. เกษียณอายุการทำงาน คุณจะได้เงิน “ช่วยเหลือเมื่อชราภาพ” คืน ถ้าอยากรู้ว่าเท่าไหร่ ให้คลิกที่ “การคำนวณเงินสงเคราะห์ชราภาพ”.

ม.33 ได้เงินชราภาพไหม

สำหรับตัวอย่างการคำนวณเงินบำนาญชราภาพ กรณีผู้ประกันตนมาตรา 33 ส่งเงินสมทบเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายค่าจ้างอยู่ที่ 10,000 บาท ส่งเงินสมทบ 15-20 ปี เงินบำนาญที่จะได้รับอยู่ที่ 2,000-2,750 บาท ,กรณีผู้ประกันตนส่งเงินสมทบค่าจ้างเฉลี่ย 12,000 บาท ส่งเงินสมทบ 15-20 ปี เงินบำนาญที่จะได้รับอยู่ที่ 2,400-3,300 บาท ,กรณีผู้ประกันตน ...

เงินชราภาพประกันสังคมคำนวณยังไง

ในส่วนของเงินบำเหน็จชราภาพคือ เงินที่ผู้ประกันตนจะได้รับเป็นเงินก้อน สำหรับผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบตั้งแต่ 1-179 เดือน ส่วนเงินบำนาญชราภาพคือิ เงินที่ผู้ประกันตนจะได้รับรายเดือนไปตลอดชีวิต สำหรับผู้ประกันตนที่ส่งเงินสมทบครบ 180 เดือน หรือ 15 ปี โดยคำนวณจากอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายที่ใช้เป็นฐาน ...

เช็คเงินชราภาพประกันสังคม ได้ตอนไหน

ต้องจ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน หรือ 15 ปีขึ้นไป จะส่งติดต่อกัน 15 ปี หรือส่ง ๆ หยุด ๆ บางช่วงก็ได้ จะส่งในฐานะผู้ประกันตน มาตรา 33 หรือมาตรา 39 ก็ได้ แต่เมื่อรวมกันแล้วต้องครบ 180 เดือน

เงินชราภาพประกันสังคม จะได้กี่บาท

ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญชราภาพเดือนละ 2,600 บาท ไปจนตลอดชีวิต การหาค่าเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย คือ นำค่าจ้าง 60 เดือนสุดท้าย รวมกันแล้วหารด้วย 60. ค่าจ้างเฉลี่ย = ผลรวมของค่าจ้าง 60 เดือน จำนวนเดือน (60 เดือน)