แผนการ สอน การแบ่งเซลล์ ม. 3

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เป็นการแบ่งเซลล์ร่างกาย เพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ร่างกายระหว่างการเจริญเติบโตและทดแทนเซลล์ที่เสียหายหรือตาย ส่วนการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส คือการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงและ

เพศชาย

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้

- เปรียบเทียบลักษณะโครโมโซมของมนุษย์เพศชายและเพศหญิง

ด้านทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

           - สังเกตลักษณะโครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์เพศชายและเพศหญิง

การวัดผลและประเมินผล

 วิธีการ

 - การตอบคำถามหลังจากศึกษาใบความรู้

 เครื่องมือ

1. ใบกิจกรรมที่ 2 การแบ่งเซลล์แต่ละแบบแตกต่างกันอย่างไร

2. ใบงานที่ 2  การแบ่งเซลล์แต่ละแบบแตกต่างกันอย่างไร

3. ใบความรู้ที่ 3 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส

 4. ใบงานที่ 3 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิสเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.3

รหัสวิชา ว23103 วิชาวิทยาศาสตร์ เทอม 1

นายอับดุลยามีน หะยีขาเดร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล

สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษาปัตตานี

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลลข์ องสงิ่ มชี วี ิต

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา วิทยาศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

เรือ่ ง โครโมโซม ดเี อน็ เอ และยนี เวลา 4 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของส่งิ มชี ีวิต รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวช้ีวัด

ว 1.3 ม.3/1 อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่าง ยีน ดเี อน็ เอ และโครโมโซม โดยใช้แบบจาลอง

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งยีน ดีเอน็ เอ และโครโมโซมได้ (K)
2. สร้างแบบจาลองเพ่อื อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่างยนี ดีเอน็ เอ และโครโมโซมได้ (P)
3. ทางานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น
พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

- ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตสามารถ
ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหน่ึงได้ โดยมี
ยีนเปน็ หนว่ ยควบคมุ ลักษณะทางพนั ธกุ รรม

- โครโมโซมประกอบด้วยดีเอ็นเอและโปรตีน
ขดอยู่ในนิวเคลยี ส ยนี ดเี อ็นเอ และโครโมโซม
มีความสัมพันธ์กัน โดยบางส่วนของดีเอ็นเอ
ทาหน้าท่ีเปน็ ยีนท่ีกาหนดลักษณะของสง่ิ มีชีวิต

- ส่ิงมีชีวิตท่ีมีโครโมโซม 2 ชุด โครโมโซมท่ีเป็น
คู่กันมีการเรียงลาดับของยีนบนโครโมโซม
เหมือนกันเรียกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม ยีน
หนึ่งท่ีอยู่บนคู่ฮอมอโลกัสโครโมโซม อาจมี
รูปแบบแตกต่างกัน เรียกแต่ละรูปแบบของยนี

1

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พนั ธุกรรม สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลลข์ องสง่ิ มีชีวิต

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ท่ีต่างกันนี้ว่า แอลลีล ซ่ึงการเข้าคู่กันของ
แอลลีลต่าง ๆ อาจส่งผลทาให้สิ่งมีชีวิต
มีลักษณะทแ่ี ตกตา่ งกันได้
- ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดมีจานวนโครโมโซมคงที่
มนุษย์มีจานวนโครโมโซม 23 คู่ เป็นออโตโซม
22 คู่ และโครโมโซมเพศ 1 คู่ เพศหญิง
มีโครโมโซมเพศเป็น XX เพศชายมีโครโมโซม
เพศเปน็ XY

5. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

เม่ือมองเซลล์ผ่านกล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้นใยเล็ก ๆ พันกันอยู่ในนิวเคลียส เม่ือเกิดการแบ่งเซลล์
เสน้ ใยเหลา่ นจี้ ะขดสน้ั จนมีลกั ษณะเป็นท่อนสนั้ เรยี กว่า โครโมโซม ซง่ึ โครโมโซมประกอบดว้ ยดีเอ็นเอและ
โปรตีน ส่วนหน่ึงของดีเอ็นเอทาหน้าที่เป็นยีนซึ่งเป็นหน่วยพันธุกรรมท่ีควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของ
สง่ิ มชี วี ติ สี่ ามารถ่ายทอดจากรุ่นพอ่ และแม่ไปส่รู นุ่ ลูก

6. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ

1) ทักษะการสังเกต
2) ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มูล
3) ทกั ษะการสร้างแบบจาลอง
3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มวี ินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

8. คาถามสาคัญ

1. ส่ิงใดควบคุมลักษณะทางพนั ธุกรรมของสิง่ มชี วี ติ
2. โครโมโซม ดเี อ็นเอ และยีนมีความสมั พนั ธ์กันอย่างไร

2

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบง่ เซลล์ของสงิ่ มีชวี ติ

9. กิจกรรมการเรยี นรู้

 วิธีการสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชั่วโมงท่ี 1

ขั้นนา

ขน้ั ท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูแจ้งใหน้ กั เรียนทราบวา่ วนั น้ีจะศกึ ษาเรอื่ ง โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยนี
2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรือ่ ง พนั ธุกรรม
3. ครูสุ่มนักเรียน 4-5 คน ออกมาหน้าชั้นเรียน แล้วถามนักเรียนว่า นักเรียนมีพ่ีน้องหรือไม่ แล้ว
นักเรียนและพ่ีน้องนั้น ใครที่มีหน้าตาเหมือนพ่อหรือแม่มากกว่ากัน จากนั้นครูต้ังคาถามกระตุ้น
ความสนใจ และเพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน โดยให้นักเรียนท้ังห้องร่วมกันอภิปรายเพื่อ
ตอบคาถาม
- นักเรยี นรูจ้ ักลักษณะทางพนั ธกุ รรมหรอื ไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ พจิ ารณาจากคาตอบของนักเรียน โดยนักเรียนอาจตอบว่า ลักษณะทางพนั ธุกรรม คือ
ลกั ษณะที่ถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปยังลูก)
- นกั เรียนคดิ ว่าสิง่ ใดที่ควบคมุ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของส่ิงมชี วี ติ
(แนวตอบ พิจารณาจากคาตอบของนักเรียน โดยนักเรียนอาจตอบว่า ดีเอ็นเอ โครโมโซม ยีน
ซ่ึงครูควรกลา่ วเพิ่มเตมิ วา่ นกั เรียนจะไดค้ าตอบจากการศกึ ษาต่อไป)

ขัน้ สอน

ขั้นที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. นักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับลักษณะทางพันธุกรรม จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
(ชุด สมั ฤทธม์ิ าตรฐาน) วทิ ยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 หรือแหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปเก่ียวกับลักษณะทางพันธุกรรม ซ่ึงมีแนวการสรุป
ดังนี้
“ลักษณะทางพันธุกรรม เป็นลักษณะท่ีที่สามารถถ่ายทอดจากบรรพบุรุษไปยังรุ่นลูกหลานโดยผ่าน
ทางเซลล์สืบพันธุ์ บางลักษณะไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน เช่น ความสูง สีผิว
สติปัญญา ส่วนบางลักษณะสามารถแยกความแตกตา่ งไดอ้ ย่างชัดเจน เช่น ต่ิงหู ลกั ย้มิ ชน้ั หนังตา”
3. ครูนาอภิปรายเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียนว่า ลักษณะทางพันธุกรรมถ่ายทอดผ่านทางเซลล์
สืบพันธ์ุ นักเรียนคิดว่า ภายในเซลล์สืบพันธุ์และเซลล์ต่าง ๆ ประกอบด้วยส่ิงใดบ้าง จากนั้น

3

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ที่ 3 การแบง่ เซลล์ของสง่ิ มชี วี ิต

ครูกล่าวนาเข้าสู่กิจกรรม เรื่อง ศึกษาโครงสร้างสารที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดลักษณะทาง
พนั ธกุ รรม
4. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อทากิจกรรม เรื่อง ศึกษาโครงสร้างสารท่ีเก่ียวข้องกับการถ่ายทอดลักษณะ

ทางพนั ธกุ รรม จากหนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธมิ์ าตรฐาน) วทิ ยาศาสตร์ ม.3 เลม่ 1

5. ครูสุ่มนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมาอภิปรายผลการทากิจกรรมหน้าชั้นเรียน โดยให้นักเรียนกลุ่มอ่ืน ๆ

รว่ มกนั เสนอแนะเพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ ทตี่ รงกนั ดังน้ี

“เมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์ศึกษาเซลล์ จะพบโครงสร้างของเซลล์ท่ีเห็นได้ชัดเจน คือ นิวเคลียส และ

เมื่อใช้กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์สูงขึ้น จะสามารถเห็นโครงสร้างภายในนิวเคลียสซ่ึงท่ีมีท้ัง

ลกั ษณะทเี่ ป็นเสน้ ใยยาว เรยี กวา่ โครมาทนิ และลักษณะเปน็ ท่อนสั้น ๆ เรียกว่า โครโมโซม”

ชัว่ โมงที่ 2

ขัน้ ท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore)
6. ครตู งั้ คาถามเพือ่ กระตุ้นการเรียนรูข้ องนักเรยี น ดังนี้

- นักเรียนคดิ วา่ ส่งิ มชี ีวิตแต่ละชนิดมีโครโมโซมเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร
(แนวตอบ พิจารณาจากคาตอบของนักเรียน โดยนักเรียนอาจตอบวา่ สง่ิ มชี ีวติ ทุกชนิดมีโครโมโซม
แตม่ ีจานวนโครโมโซมแตกตา่ งกัน)
7. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ จากการทากจิ กรรมเมอ่ื ช่ัวโมงทีผ่ า่ นมา รว่ มกันศกึ ษาในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั นี้
- จานวนโครโมโซมในสิ่งมีชีวิต
- ประเภทของโครโมโซม
- ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน
โดยศึกษาจากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิมาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 หรือ
แหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ เชน่ อนิ เทอร์เนต็ และสรุปความร้ลู งในสมดุ ประจาตัวนกั เรยี น

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
8. ครตู ัง้ คาถามให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและตอบคาถามจากการศกึ ษาในประเดน็ ตา่ ง ๆ ที่ผา่ นมา
- สิ่งมีชีวิตแต่ละชนดิ มโี ครโมโซมเหมอื นกนั หรือไม่ อยา่ งไร
(แนวตอบ สง่ิ มีชีวิตแต่ละชนิดมีจานวนโครโมโซมแตกตา่ งกนั และมีจานวนโครโมโซมเปน็ เลขคู่)
- ขนาดร่างกายของสิ่งมชี วี ติ กับจานวนโครโมโซมสมั พนั ธก์ นั หรอื ไม่ อย่างไร
(แนวตอบ ไม่สมั พันธ์กัน โดยสง่ิ มีชวี ิตขนาดเลก็ อาจมีจานวนโครโมโซมมากกว่าสงิ่ มีชีวิตขนาดใหญ่
เช่น สุนขั มีจานวนโครโมโซมมมากกวา่ ม้า)
- มนษุ ยม์ ีจานวนโครโมโซมกี่คู่
(แนวตอบ 23 ค)ู่
- ออโตโซมกับโครโมโซมเพศแตกต่างกันอย่างไร

4

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลล์ของสง่ิ มีชีวติ

(แนวตอบ ออโตโซมทาหน้าท่ีกาหนดลักษณะทางพันธุกรรมของร่างกาย ซึ่งมักมีหลายคู่
ส่วนโครโมโซมเพศทาหนา้ ท่กี าหนดเพศ ซึ่งมีเพยี ง 1 ค)ู่
- เพศหญิงกับเพศชายมโี ครโมโซมเพศตา่ งกันอยา่ งไร
(แนวตอบ เพศหญิงมีโครโมโซมเพศเปน็ XX ส่วนเพศชายมีโครโมโซมเพศเปน็ XY)
9. ครเู ปิดโอกาศใหน้ ักเรียนซกั ถามเพมิ่ เติมในประเดน็ ทยี่ ังไม่เข้าใจ

ชวั่ โมงท่ี 3

ขัน้ ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
10. ครตู งั้ ประเด็นเพื่อนาเข้าสกู่ จิ กรรมวา่ โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน มคี วามสัมพนั ธก์ นั อย่างไร
11. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรม เร่ือง สร้างแบบจาลองโครโมโซม จากหนังสือเรียนรายวิชา

พื้นฐาน (ชุด สัมฤทธิ์มาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 โดยออกแบบและสร้างแบบจาลองจาก
วัสดุตา่ ง ๆ ที่นักเรยี นเลือกใช้เพอื่ แสดงความสัมพันธร์ ะหว่างโครโมโซม ดีเอน็ เอ และยนี
12. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอแบบจาลองหน้าชน้ั เรียน โดยครแู ละนกั เรียนกลุ่มอื่น ๆ ร่วมกนั เสนอแนะ
13. ให้นักเรยี นแต่ละคนทาใบงานที่ 2.1.1 เรื่อง โครโมโซม ดีเอน็ เอ และยีน

ชวั่ โมงท่ี 4

ขั้นสรปุ

ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน โดยมีแนว
การสรุป ดังน้ี
“โครโมโซมประกอบด้วยดีเอ็นเอและโปรตีนขดอยู่ในนิวเคลียส โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน
มีความสัมพันธ์กัน โดยบางสว่ นของดเี อ็นเอทาหน้าที่เปน็ ยีนท่กี าหนดลักษณะของส่งิ มชี ีวติ ”
2. ให้นักเรียนแต่ละคนทา Exercise 1.1 จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิมาตรฐาน)
วิทยาศาสตร์ ม.3 เลม่ 1
3. ครตู รวจสอบผลการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 พนั ธกุ รรม
4. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤตกิ รรม
การทางานกลุ่ม และการนาเสนอผลงาน

5

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ที่ 3 การแบ่งเซลล์ของสง่ิ มีชีวิต

5. ครูตรวจสอบผลการปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง ศึกษาโครงสร้างสารที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม และกิจกรรม เร่อื ง สร้างแบบจาลองโครโมโซม

6. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานที่ 2.1.1 เรอ่ื ง โครโมโซม ดเี อ็นเอ และยีน
7. ครูตรวจสอบผลการทา Exercise 1.1 จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิมาตรฐาน)

วทิ ยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1

10. การวดั และประเมินผล

รายการวัด วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
- แบบทดสอบก่อน
10.1 การประเมินก่อนเรียน - ประเมินตามสภาพ
เรยี น จริง
- แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบ
- ใบงานที่ 2.1.1 - ร้อยละ 60
เรยี น หน่วยการ กอ่ นเรียน - Exercise 1.1 ผ่านเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60
เรียนรทู้ ี่ 2 ผา่ นเกณฑ์
- ระดบั คุณภาพ 2
เร่ือง พนั ธกุ รรม ผ่านเกณฑ์
- ระดับคณุ ภาพ 2
10.2 การประเมนิ ระหว่าง ผ่านเกณฑ์

การจดั กิจกรรม

1) โครโมโซม ดีเอ็นเอ - ตรวจใบงานที่ 2.1.1

และยนี

- ตรวจ Exercise 1.1

- ตรวจแบบจาลอง - แบบประเมนิ ผลงาน

โครโมโซม

2) การปฏบิ ัติการ - ประเมนิ การ - แบบประเมิน

ปฏบิ ัติการ การปฏบิ ัตกิ าร

3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดับคณุ ภาพ 2
ทางาน
การทางานรายบุคคล พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์
รายบุคคล
การทางานรายบุคคล
4) พฤติกรรมการ
ทางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดบั คุณภาพ 2
การทางานกลุ่ม พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์
กลุ่ม การทางานกลุ่ม

6

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 พันธุกรรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบง่ เซลล์ของสง่ิ มีชวี ติ

รายการวดั วิธีการ เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน
5) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
ผลงาน การนาเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์

6) คุณลกั ษณะอันพึง - สงั เกตความมีวินยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์
ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมนั่ คณุ ลกั ษณะ

ในการทางาน อนั พึงประสงค์

11. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้

11.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สมั ฤทธม์ิ าตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2
พันธุกรรม
2) ใบงานที่ 2.1.1 เรอ่ื ง โครโมโซม ดีเอน็ เอ และยนี

11.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งเรยี น
2) หอ้ งปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์
3) อินเทอรเ์ น็ต

7

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบง่ เซลลข์ องสง่ิ มชี วี ติ

ใบงานที่ 2.1.1

เรือ่ ง โครโมโซม ดีเอ็นเอ และยีน

คาชแ้ี จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้

1. พิจารณาภาพทก่ี าหนดให้ แล้วระบวุ า่ ภาพใดเป็นโครโมโซมของมนษุ ย์เพศชาย และภาพใดเปน็
โครโมโซมของมนษุ ย์เพศชาย พรอ้ มทัง้ อธบิ ายเหตผุ ล

ก. ข.
2. พจิ ารณาภาพแลว้ ระบสุ ่วนต่าง ๆ ไดแ้ ก่ เซลล์ นิวเคลียส โครโมโซม โครมาทดิ โครมาทนิ ดเี อน็ เอ ยนี

8

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลลข์ องสง่ิ มีชวี ติ

ใบงานท่ี 2.1.1 เฉลย

เร่อื ง โครโมโซม ดเี อ็นเอ และยีน

คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี

1. พจิ ารณาภาพทีก่ าหนดให้ แล้วระบวุ ่าภาพใดเป็นโครโมโซมของมนษุ ยเ์ พศชาย และภาพใดเป็น
โครโมโซมของมนุษย์เพศชาย พร้อมทง้ั อธบิ ายเหตผุ ล

ก. ข.

ภาพ ก เป็นมนษุ ยเ์ พศหญงิ เพราะมีโครโมโซมคู่ท่ี 23 มขี นาดเท่ากัน นั่นคอื โครโมโซมเพศ XX
ภาพ ข เป็นมนษุ ยเ์ พศชาย เพราะมีโครโมโซมคู่ท่ี 23 ที่มขี นาดต่างกนั นน่ั คือเปน็ โครโมโซม เพศ XY

2. พิจารณาภาพแล้วระบุสว่ นตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ เซลล์ นิวเคลียส โครโมโซม โครมาทดิ โครมาทนิ ดเี อน็ เอ ยีน

โครมาทิด โครมาทิน

โครโมโซม { ดเี อ็นเอ

ยีน

นิวเคลียส 9
เซลล์

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลล์ของสงิ่ มชี ีวิต

12. ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ

ลงชือ่ .................................
( ................................ )

ตาแหน่ง .......

13. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์

 ดา้ นอ่นื ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤตกิ รรมทีม่ ปี ัญหาของนักเรียนเป็นรายบคุ คล (ถ้าม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค
 แนวทางการแก้ไข

10

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 พันธุกรรม
แผนฯ ที่ 3 การแบง่ เซลลข์ องสงิ่ มีชีวิต

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 2

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3

เรอ่ื ง การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ กรรม เวลา 4 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของสงิ่ มีชีวติ รวมทัง้ นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

2. ตวั ช้ีวัด อธบิ ายการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมจากการผสมโดยพจิ ารณาลกั ษณะเดยี วท่ี
แอลลีลเดน่ ขม่ แอลลีลดอ้ ยอย่างสมบูรณ์
ว 1.3 ม.3/2 อธิบายการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูก และคานวณอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์
และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก
ม.3/3

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวที่แอลลีลเด่น
ขม่ แอลลลี ดอ้ ยอย่างสมบรู ณไ์ ด้ (K)

2. อธิบายการเกิดจโี นไทป์และฟีโนไทปข์ องลูกได้ (K)
3. เขยี นแผนภาพ และคานวณอตั ราสว่ นการเกิดจีโนไทป์และฟโี นไทป์ของรุ่นลูกได้ (P)
4. รับผิดชอบตอ่ หนา้ ทที่ ่ไี ด้รับมอบหมาย และม่งุ ม่ันในการศึกษา (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่
พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- เมนเดลได้ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมของต้นถ่ัวชนิดหนึ่ง และนามา
สู่หลักการพื้นฐานของการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพนั ธกุ รรมของส่ิงมชี ีวิต

11

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 พนั ธุกรรม สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลลข์ องสงิ่ มีชวี ิต

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- ส่ิงมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็น 2 ชุด ยีนแต่ละ
ตาแหน่งบนฮอมอโลกัสโครโมโซมมี 2 แอลลีล
โดยแอลลีลหน่ึงมาจากพ่อ และอีกแอลลีล
มาจากแม่ ซ่ึงอาจมีรูปแบบเดียวกัน หรือ
แตกต่างกัน แอลลีลที่แตกต่างกันน้ี แอลลีล
หน่ึงอาจมีการแสดงออกข่มอีกแอลลีลหนึ่งได้
เรยี กแอลลีลนัน้ ว่าเปน็ แอลลีลเด่น สว่ นแอลลีล
ทถี่ กู ขม่ อย่างสมบรู ณ์ เรยี กวา่ เปน็ แอลลีลด้อย

- เม่อื มกี ารสรา้ งเซลล์สบื พนั ธุ์ แอลลลี ทเี่ ป็นคู่กัน
ในแต่ละฮอมอโลกัสโครโมโซมจะแยกจากกัน
ไปสู่เซลล์สืบพันธุ์แต่ละเซลล์ โดยแต่ละเซลล์
สืบพนั ธุจ์ ะได้รับเพียง 1 แอลลลี และจะมาเข้า
คู่กับแอลลีลท่ีตาแหน่งเดียวกันของอีกเซลล์
สืบพันธ์ุหนึ่งเมื่อเกิดการปฏิสนธิ จนเกิดเป็น
จีโนไทป์และแสดงฟีโนไทปใ์ นร่นุ ลูก

5. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

เกรกอร์ โยฮันน์ เมนเดล ผู้ค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งเป็นพ้ืนฐานสาคัญของวิชา
พันธุศาสตร์ จากการทดลองผสมพันธุ์ถั่วต่างสายพันธ์ทุ ี่มีลักษณะแตกต่างกันเป็นเวลากว่า 8 ปี แล้วสังเกต
ลักษณะท่ีปรากฏในลูกรุ่นที่ 1 และลูกรุ่นท่ี 2 โดยลักษณะท่ีปรากฏของลูกรุ่นท่ี 1 เป็นลักษณะ
ทางพันธุกรรมลักษณะเด่น ซึ่งจะปรากฏลักษณะน้ัน ๆ ในทุกรุ่น ส่วนลักษณะด้อยจะปรากฏในลูกรุ่นที่ 2
ซ่งึ มจี านวนทป่ี รากฏนอ้ ยกวา่ โดยอัตราสว่ นจานวนที่ปรากฏของลกั ษณะเด่น : ลกั ษณะด้อย เปน็ 3 : 1

สิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็น 2 ชุด ยีนแต่ละตาแหน่งบนฮอมอโลกัสโครโมโซมมี 2 แอลลีล โดยแอลลีล
หน่ึงได้รับมาจากพ่อ และอีกแอลลีลได้รับมาจากแม่ ซึ่งอาจมีรูปแบบเดียวกันหรือแตกต่างกัน แอลลีล
ที่แตกต่างกันนี้ แอลลีลหนึ่งอาจมีการแสดงออกข่มอีกแอลลีลหนึ่งได้ เรียกแอลลีลท่ีข่มนั้นว่า
แอลลีลเดน่ ส่วนแอลลีลทีถ่ ูกข่มอยา่ งสมบูรณ์ เรียกว่า แอลลีลด้อย

เม่ือมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ แอลลีลท่ีเป็นคู่กันในแต่ละฮอมอโลกัสโครโมโซมจะแยกจากกันไปสู่เซลล์
สืบพันธ์ุแต่ละเซลล์ โดยแต่ละเซลล์สืบพันธุ์จะได้รับเพียง 1 แอลลีล เม่ือเกิดการปฏิสนธิ แต่ละแอลลีลท่ีได้
รบั มาจากพอ่ และแม่ จะมาเข้าคู่กนั ที่ตาแหน่งเดยี วกนั จนเกดิ เป็นจโี นไทปแ์ ละแสดงฟีโนไทปใ์ นร่นุ ลกู

12

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ที่ 3 การแบง่ เซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ

6. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ

1) ทกั ษะการใช้คานวน
2) ทักษะการตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. มีวนิ ยั
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน

8. คาถามสาคญั

1. ลักษณะทางพันธุกรรมจากพ่อและแม่จะถา่ ยทอดสรู่ ุ่นลกู ไดอ้ ยา่ งไร
2. จากการทดลองของเมนเดล ทาไมลูกรุน่ ที่ 1 จงึ มีลักษณะเหมือนกนั แตล่ ูกรุ่นที่ 2 จึงมีลักษณะต่างกัน

9. กิจกรรมการเรยี นรู้

 วิธีการสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชวั่ โมงที่ 1

ข้นั นา

ขั้นท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูเปิดวีดิทัศน์เก่ียวกับการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ให้นักเรียนศึกษา โดยอาจนามาจากแหล่ง
การเรยี นร้หู รือสอื่ ตา่ ง ๆ เช่น
- https://youtu.be/dLX_fJhSlmQ
- https://youtu.be/vORUiVEb7Q
- https://youtu.be/GLv4YZhU5Jk
2. นกั เรียนศกึ ษาวีดิทัศน์ท่ีครเู ปดิ ให้ดู แลว้ บนั ทกึ สาระสาคญั ลงในสมดุ ประจาตัวของนักเรียน
3. ครูสุ่มนักเรียน 2-3 คน หรือให้นักเรียนอาสาออกมานาเสนอสาระสาคัญที่ตนเองจดบันทึกไว้
หน้าชั้นเรยี น โดยระหว่างท่นี ักเรียนนาเสนอ ใหค้ รูและนกั เรียนคนอนื่ ๆ ร่วมกันเสนอแนะและแสดง
ความคิดเหน็ เพม่ิ เติม

13

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลล์ของสงิ่ มชี ีวติ

ข้ันสอน

ข้ันที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)
1. นักเรียนรวมกลุ่มกัน กลุ่มละ 3 คน ร่วมกันศึกษา เรื่อง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล
จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิมาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 แล้วบันทึก
สาระสาคญั เพิม่ เตมิ จากที่ไดศ้ กึ ษาในวดิ ที ัศน์
2. ครตู ้งั คาถามใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ และตอบคาถาม เชน่
- จงอธบิ ายประวตั ขิ องเกรกอร์ โยฮนั น์ เมนเดล มาพอสังเขป
(แนวตอบ เกรเกอร์ โยฮนั น์ เมนเดล เกดิ เมอ่ื พ.ศ.2365 ทเ่ี มืองไฮนเ์ ซนดอร์ฟ ประเทศออสเตรีย
เป็นบาทหลวงและนักพฤกษศาสตร์ ซึ่งได้ทาการทดลองและอธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรมโดยศึกษาจากการผสมพันธุต์ ้นถ่วั ลันเตา จนต่อมาได้รบั การยกย่องให้เป็นบิดาแห่ง
วชิ าพนั ธศุ าสตร)์
- เมนเดลศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของตน้ ถ่วั ลนั เตาลักษณะใดบ้าง
(แนวตอบ รูปร่างของเมล็ด สีของเมล็ด สีของดอก รูปร่างของฝัก สีของฝัก ตาแหน่งของดอก
และความสงู ของลาต้น)
- จงอธบิ ายความหมายของคาว่า ลกั ษณะเด่น และลกั ษณะด้อยจากการทดลองของเมนเดล
(แนวตอบ ลักษณะเด่น คือ ลักษณะท่ีแสดงออกในรุ่นที่ 1 และแสดงออกในทุก ๆ รุ่น
ส่วนลักษณะด้อย คือ ลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุ่นท่ี 1 แต่ปรากฏในรุ่นที่ 2 และมีโอกาสปรากฏ
ในรนุ่ ตอ่ ๆ ไปไดน้ ้อย)
- เมนเดลมวี ธิ ีการเตรียมต้นถ่วั ลันเตาพนั ธ์ุแทอ้ ยา่ งไร
(แนวตอบ นาต้นถั่วลันเตาที่มีลักษณะท่ีต้องการศึกษาไปปลูกและผสมพันธุ์ภายในดอกเดียวกัน
จานวนหลายครัง้ จนได้ลกู ทีม่ ีลกั ษณะเหมอื นกบั ร่นุ พ่อแม่ทุกตน้ )
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกยี่ วกับเรื่อง การศึกษาพันธุศาสตรข์ องเมนเดล โดยมแี นวการสรปุ ดังน้ี
“เมนเดลผสมพันธุ์ถั่วลันเตาเพื่อศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โดยศึกษา 7 ลักษณะ
ได้แก่ รูปร่างของเมล็ด สีของเมล็ด สีของดอก รูปร่างของฝัก สีของฝัก ตาแหน่งของดอก ความสูง
ของลาต้น จากการศึกษาพบว่า มีลักษณะท่ีปรากฏในรุ่นท่ี 1 เรียกว่า ลักษณะเด่น และลักษณะที่
ไม่ปรากฏในรนุ่ ท่ี 1 แต่ปรากฏในรนุ่ ที่ 2 เรียกวา่ ลกั ษณะด้อย”

14

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 พันธุกรรม
แผนฯ ที่ 3 การแบ่งเซลลข์ องสงิ่ มชี ีวติ

ช่วั โมงที่ 2

ขน้ั ที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore)
4. ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับผลการศึกษาของมนเดลท่ีเรียนไปเม่ือช่ัวโมงที่ผ่านมา
และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า ลักษณะของต้นถ่ัวลันเตาที่เมนเดลศึกษานั้น ลักษณะใดที่เป็น

ลักษณะเดน่ และลักษณะใดทเ่ี ป็นลักษณะดอ้ ย โดยมแี นวการอภปิ ราย ดังนี้

ลกั ษณะ เดน่ ดอ้ ย

รูปร่างของเมล็ด เรยี บ ขรขุ ระ

สขี องเมลด็ เหลอื ง เขยี ว

สีของดอก ม่วง ขาว

รูปร่างของฝกั อวบ แฟบ

สขี องฝกั เขยี ว เหลือง

ตาแหนง่ ของดอก ลาต้น ยอด

ความสูงของลาต้น สูง เตี้ย

5. ครูนาอภปิ รายเพ่ือให้นกั เรยี นเข้าใจวา่

“จากการทดลองของเมนเดลทาให้ทราบว่า ส่ิงมีชีวิตมีหน่วยควบคุมลักษณะที่สามารถถ่ายทอดจาก

พอ่ แม่ไปยงั รุ่นต่อ ๆ ไป โดยเมนเดลสนั นษิ ฐานว่า หน่วยควบคมุ ลกั ษณะพนั ธุกรรมจะอยู่กันเป็นคู่ ๆ
และจะแยกออกจากกันไปอยู่ในเซลลส์ ืบพนั ธ์ุ ซงึ่ ในเวลาตอ่ มาหนว่ ยท่คี วบคมุ ลักษณะทางพันธุกรรม

น้ัน ถกู เรียกว่า ยนี ”

6. นักเรียนกลุ่มเดิมจากการศึกษาเรื่องท่ีผ่านมา หรืออาจแบ่งกลุ่มใหม่กลุ่มละ 5-6 คน ร่วมกันศึกษา

เรื่อง การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิมาตรฐาน)

วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 แล้วบันทึกสาระสาคัญลงในสมุดประจาตวั นักเรียน

7. ครูต้งั คาถามใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ และตอบคาถาม เชน่

- แอลลลี คอื อะไร
(แนวตอบ แอลลลี คอื รูปแบบของยีนทอี่ ยกู่ นั เป็นคู่ ๆ บนโครโมโซม)

- แอลลลี เด่นกับแอลลีลด้อยต่างกนั อยา่ งไร
(แนวตอบ แอลลีลเด่น คือ แอลลีลที่ข่มอีกแอลลีลหนึ่งได้ ส่วนแอลลียด้อย คือ แอลลีลที่ถูกข่ม

อยา่ งสมบูรณ)์
- จโี นไทป์ คอื อะไร

(แนวตอบ จีโนไทป์ คือ รปู แบบของยนี ท่ปี รากฏเปน็ คู่ ๆ เช่น TT Tt tt)
- ฟีโนไทป์ คืออะไร

(แนวตอบ ฟโี นไทป์ คือ ลักษณะของส่ิงมชี วี ติ ทแี่ สดงออก ซง่ึ เปน็ ผลมาจากจีโนไทป์)

15

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบง่ เซลล์ของสง่ิ มีชวี ิต

ชัว่ โมงที่ 3

ข้ันที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore)
8. ครูนาอภิปรายว่า นักเรียนคิดว่ายีนที่อยู่ในเซลล์สืบพันธ์น้ันมีโอกาสเข้าคู่กันอย่างไร เพ่ือนาเข้า
สูก่ ิจกรรม เรอ่ื ง โอกาสการเข้าคู่ของยีน
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม เร่ือง โอกาสการเข้าคู่ของยีน จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน
(ชุด สมั ฤทธ์มิ าตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 บนั ทึกและอภิปรายผลกจิ กรรม

ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)

10. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชนั้ เรยี น โดยให้นักเรยี นกลมุ่

อื่น ๆ รว่ มกนั เสนอแนะจนทกุ กลมุ่ มีความเข้าใจท่ีตรงกัน

11. นกั เรยี นรว่ มกันตอบคาถามทา้ ยกจิ กรรม

12. นักเรียนร่วมกันกาหนดสัญลักษณ์ตัวอักษรภาษาอังกฤษ แทนแอลลีลเด่นและแอลลีลด้อย

เมื่อเปรยี บเทียบกับสีของลกู ปดั เช่น

สัญลกั ษณ์ R แทน แอลลีลเดน่ แสดงลักษณะ สแี ดง

r แทน แอลลลี ด้อย แสดงลกั ษณะ สขี าว

ลกั ษณะสลี ูกปัด แดง-แดง แสดงการเข้าค่ขู องยนี RR

แดง-ขาว แสดงการเขา้ คขู่ องยีน Rr

ขาว-ขาว แสดงการเขา้ คขู่ องยนี rr

13. นักเรียนศึกษาภาพจากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน (ชุด สัมฤทธิ์มาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1

หนา้ 57 อีกครัง้ ซง่ึ เปน็ ภาพแสดงการถ่ายทอดแอลลลี ทค่ี วบคมุ ลกั ษณะความสงู ของต้นถั่วลันเตา

14. ครูนาอภิปรายเพือ่ ใหน้ ักเรียนอธบิ ายเก่ียวกบั ภาพในหน้า 57 ได้วา่

“การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมความสูงของต้นถั่วลันเตาน้ัน กาหนดสัญลักษณ์ตัวอักษร

ภาษาอังกฤษ T แทน แอลลีลเด่น ซึ่งแสดงลักษณะต้นสูง และสัญลักษณ์ตัวอักษรภาษาอังกฤษ t

แทน แอลลลี ด้อย ซง่ึ แสดงลักษณะต้นเตย้ี และแอลลลี จะมกี ารเข้าคู่กนั หลายลักษณะ”

15. ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ ว่า

“เม่ือมีการเข้าคู่กันของยีนกรณีที่เป็นรูปแบบท่ีเหมือนกัน เช่น AA, TT หรือ aa, tt เรียกลักษณะนีว้ า่

พันธุ์แท้ (homozygous genotype) และกรณีที่เป็นรูปแบบต่างกัน เช่น Aa, Tt เรียกลักษณะนี้ว่า

พนั ธ์ุทาง (heterozygous genotype)”

16. นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึกเขียนแผนภาพและคานวณอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก

โดยการทาใบงานที่ 2.2.1 เรอื่ ง แผนภาพการเกดิ จีโนไทป์และฟโี นไทป์

16

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 พนั ธุกรรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลล์ของสงิ่ มีชีวิต

ชัว่ โมงท่ี 4

ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
17. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมนั้นนอกจากกจะเป็นการถ่ายทอดลักษณะ

ที่สามารถข่มกันได้อย่างสมบูรณ์แล้ว ยังมีลักษณะที่ถ่ายทอดแล้วข่มกันแบบไม่สมบูรณ์ด้วย เช่น

หากกาหนดให้ A แทนแอลลีลเด่น ซ่ึงแสดงลักษณะดอกสีแดง ส่วน a แทนแอลลีลด้อย ซ่ึงแสดง

ลักษณะดอกสีขาว เมื่อแอลลีลมีการเข้าคู่กันแบบ Aa แล้วข่มกันแบบไม่สมบูรณ์ ลักษณะที่ปรากฏ

ออกมาจะเป็นดอกสชี มพู

18. ใหน้ กั เรียนจับคู่กนั ศึกษาเพิ่มเตมิ เก่ยี วกับการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมทขี่ ่มกันแบบไมส่ มบูรณ์
แล้วสรุปสาระสาคัญความยามไมเ่ กิน 1 หนา้ กระดาษ A4 นามาสง่ ในคร้งั ตอ่ ไป

19. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายและสรปุ ผลการทากจิ กรรม

ขัน้ สรุป

ข้ันที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นกั เรียนรว่ มกันสรปุ ความรู้เก่ยี วกบั การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โดยมีแนวการสรุป ดงั นี้
“สิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซม 2 ชุด ยีนแต่ละตาแหน่งบนฮอมอโลกัสโครโมโซมมี 2 แอลลีล ซ่ึงอาจมี
รูปแบบเดียวกันหรือแตกต่างกัน แอลลีลท่ีแตกต่างกันน้ี แอลลีลหน่ึงอาจมีการแสดงออกข่มอีก
แอลลีลหนึ่งได้ เรียกว่า แอลลีลเด่น ส่วนแอลลีลท่ีถูกข่มอย่างสมบูรณ์ เรียกว่า แอลลีลด้อย เม่ือมี
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ แอลลีลทเ่ี ปน็ ค่กู นั ในแตล่ ะฮอมอโลกัสโครโมโซมจะแยกจากกนั ไปอยูใ่ นแต่ละ
เซลล์สืบพันธ์ุ และจะมาเข้าคู่กันอีกครั้งหน่ึงเมื่อเกิดการปฏิสนธิ จนเกิดเป็นจีโนไทป์และแสดง
ฟีโนไทป์ในรุน่ ลูก”
2. ให้นักเรียนแต่ละคนทา Exercise 2.1 และ 2.2 จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิ
มาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เลม่ 1
3. ครูประเมนิ ผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤตกิ รรม
การทางานกล่มุ และการนาเสนอผลงาน
4. ครตู รวจสอบผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม เรื่อง โอกาสการเขา้ คู่ของยนี
5. ครตู รวจสอบผลการทาใบงานที่ 2.2.1 เรอ่ื ง แผนภาพการเกดิ จโี นไทปแ์ ละฟโี นไทป์

6. ครูตรวจสอบผลการทา Exercise 2.1 และ 2.2 จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธิ์

มาตรฐาน) วทิ ยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1

17

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พันธุกรรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบง่ เซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ

10. การวัดและประเมินผล

รายการวัด วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ

10.1 การประเมนิ ระหว่าง - ใบงานที่ 2.2.1 - ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
การจดั กิจกรรม - Exercise 2.1 และ - ร้อยละ 60
2.2 ผา่ นเกณฑ์
1) การถ่ายทอด - ตรวจใบงานท่ี 2.2.1 - ระดับคุณภาพ 2
- แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
ลักษณะทาง การปฏบิ ตั ิการ

พันธุกรรม - ตรวจ Exercise 2.1

และ 2.2

2) การปฏบิ ัติการ - ประเมินการ

ปฏบิ ัติการ

3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดับคณุ ภาพ 2
ทางาน
การทางานรายบุคคล พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล
4) พฤติกรรมการ การทางานรายบุคคล
ทางาน
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดบั คณุ ภาพ 2
กลุ่ม
5) การนาเสนอผลงาน การทางานกลุ่ม พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์

6) คุณลกั ษณะอันพึง การทางานกลุ่ม
ประสงค์
- ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมิน - ระดบั คณุ ภาพ 2

ผลงาน การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

- สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2

ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่นั คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์

ในการทางาน อันพงึ ประสงค์

11. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้

11.1 สือ่ การเรยี นรู้
1) หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน (ชดุ สมั ฤทธมิ์ าตรฐาน) วทิ ยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2
พันธุกรรม
2) ใบงานที่ 2.2.1 เรอื่ ง แผนภาพการเกดิ จโี นไทป์และฟีโนไทป์

11.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องเรยี น
2) หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์
3) อนิ เทอรเ์ น็ต

18

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 พันธุกรรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลล์ของสง่ิ มีชีวติ

ใบงานท่ี 2.2.1

เรือ่ ง แผนภาพการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์

คาชแ้ี จง : ให้นกั เรยี นเขยี นแผนภาพและคานวณอตั ราส่วนการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรนุ่ ลกู

1) นาพืชตน้ หน่ึงทมี่ ลี ักษณะดอกสีแดงพันธ์แุ ท้ ผสมกบั อีกตน้ หนึง่ ที่มีลกั ษณะดอกสีขาวพนั ธุ์แท้ จะไดล้ กู

ทมี่ ีจีโนไทป์ และฟโี นไทป์อย่างไร

กาหนดให้ แอลลีล R ควบคมุ ลักษณะดอกสีแดง แอลลลี r ควบคมุ ลักษณะดอกสขี าว

2) ผสมพันธป์ุ ลาทมี่ ีลกั ษณะครบี ยาวพนั ธุท์ าง กับปลาที่มลี กั ษณะครีบสนั้ พันธุแ์ ท้ จะได้ลูกท่ีมจี โี นไทป์

และฟีโนไทป์อย่างไร

กาหนดให้ แอลลลี S ควบคุมลกั ษณะครบี ยาว แอลลลี s ควบคมุ ลักษณะครีบส้นั

19

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พันธุกรรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบง่ เซลล์ของสง่ิ มชี ีวติ

3) ผสมพนั ธุแ์ มวท่มี ีลกั ษณะขนยาวพนั ธแ์ุ ท้ กับแมวทีม่ ลี ักษณะขนส้ันพนั ธ์ุแท้ จะไดล้ กู รนุ่ ที่ 1 และรุ่นท่ี 2

ทมี่ ีจีโนไทปแ์ ละฟีโนไทป์อย่างไร

กาหนดให้ แอลลีล C ควบคมุ ลกั ษณะขนยาว แอลลลี c ควบคมุ ลกั ษณะขนส้ัน

20

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พันธุกรรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลลข์ องสงิ่ มชี ีวิต

ใบงานที่ 2.2.1 เฉลย

เร่อื ง แผนภาพการเกดิ จโี นไทปแ์ ละฟีโนไทป์

คาชีแ้ จง : ให้นกั เรียนเขยี นแผนภาพและคานวณอัตราสว่ นการเกิดจโี นไทป์และฟีโนไทป์ของร่นุ ลกู

1) นาพชื ต้นหน่ึงทมี่ ีลักษณะดอกสีแดงพนั ธุแ์ ท้ ผสมกบั อีกต้นหนง่ึ ท่ีมลี ักษณะดอกสีขาวพนั ธ์ุแท้ จะได้ลูก

ทมี่ จี โี นไทป์ และฟีโนไทปอ์ ย่างไร

กาหนดให้ แอลลีล R ควบคมุ ลกั ษณะดอกสแี ดง แอลลลี r ควบคมุ ลักษณะดอกสขี าว

พ่อ X แม่

RR rr

เซลล์สบื พันธ์ R R r r

จโี นไทป์ รนุ่ ลูก Rr Rr Rr Rr
ฟโี นไทป์ ร่นุ ลูก ดอกสแี ดง ดอกสแี ดง ดอกสีแดง ดอกสแี ดง
อัตราสว่ นจีโนไทป์ RR : Rr : rr คือ 0 : 100 : 0
อตั ราสว่ นฟโี นไทป์ ดอกสีแดง : ดอกสีขาว คือ 100 : 0

2) ผสมพนั ธปุ์ ลาทม่ี ลี กั ษณะครบี ยาวพันธุ์ทาง กับปลาที่มีลกั ษณะครีบสน้ั พันธแุ์ ท้ จะได้ลกู ที่มจี โี นไทป์

และฟโี นไทป์อย่างไร

กาหนดให้ แอลลลี S ควบคมุ ลักษณะครีบยาว แอลลลี s ควบคมุ ลักษณะครีบส้ัน

พ่อ X แม่

Ss ss

เซลลส์ บื พันธุ์ S ss s

จโี นไทป์ รุ่นลกู Ss Ss ss ss

ฟีโนไทป์ รนุ่ ลูก ครบี ยาว ครีบยาว ครบี สนั้ ครีบสน้ั

อัตราส่วนจโี นไทป์ Ss : ss คือ 50 : 50

อตั ราส่วนฟโี นไทป์ ครบี ยาว : ครีบสนั้ คือ 50 : 50

21

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 พันธุกรรม
แผนฯ ที่ 3 การแบง่ เซลลข์ องสงิ่ มชี ีวิต

3) ผสมพนั ธ์ุแมวที่มลี กั ษณะขนยาวพันธ์ุแท้ กบั แมวทมี่ ีลกั ษณะขนสัน้ พันธแ์ุ ท้ จะไดล้ ูกรุ่นท่ี 1 และรนุ่ ที่ 2

ทมี่ จี โี นไทปแ์ ละฟีโนไทป์อยา่ งไร

กาหนดให้ แอลลลี C ควบคุมลกั ษณะขนยาว แอลลลี c ควบคุมลักษณะขนส้ัน

พอ่ X แม่

CC cc

เซลล์สบื พนั ธุ์ C Cc c

จโี นไทป์ ลูกรนุ่ 1 Cc Cc Cc Cc

ฟโี นไทป์ ลูกรุ่น 1 ขนยาว ขนยาว ขนยาว ขนยาว

อตั ราส่วนจโี นไทป์ ลูกร่นุ 1 CC : Cc : cc คือ 0 : 100 : 0

อตั ราสว่ นฟีโนไทป์ ลูกรนุ่ 1 ขนยาว : ขนสน้ั คือ 100 : 0

เซลลส์ บื พันธุ์ Cc Cc
Cc Cc

จีโนไทป์ ลกู รนุ่ 2 CC Cc Cc cc
ขนส้นั
ฟโี นไทป์ ลกู ร่นุ 2 ขนยาว ขนยาว ขนยาว

อัตราสว่ นจีโนไทป์ ลกู รนุ่ 2 CC : Cc : cc คอื 1 : 2 : 1

อัตราส่วนฟโี นไทป์ ลูกรุ่น 2 ขนยาว : ขนสน้ั คอื 3 : 1

22

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลล์ของสงิ่ มชี ีวิต

12. ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ

ลงชือ่ .................................
( ................................ )

ตาแหน่ง .......

13. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์

 ดา้ นอ่นื ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤตกิ รรมทีม่ ปี ัญหาของนักเรียนเป็นรายบคุ คล (ถ้าม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค
 แนวทางการแก้ไข

23

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 พนั ธุกรรม
แผนฯ ที่ 3 การแบง่ เซลล์ของสงิ่ มชี วี ิต

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 3

กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์
ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3

เรือ่ ง การแบ่งเซลลข์ องสิ่งมีชวี ติ เวลา 4 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้

ว 2.1 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของส่ิงมชี วี ิต รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวช้วี ัด

ว 1.3 ม.3/4 อธบิ ายความแตกต่างของการแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิสและไมโอซิส

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธิบายความแตกต่างของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิสได้ (K)
2. ปฏบิ ัติกิจกรรมเพอ่ื ศกึ ษาการแบ่งเซลล์ได้ (K)
3. รบั ผิดชอบต่อหนา้ ทท่ี ่ไี ดร้ ับมอบหมาย และมงุ่ ม่ันในการศึกษา (A)

4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศึกษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- กระบวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมี 2 แบบ คือ

ไมโทซิส และไมโอซิส
- ไมโทซิส เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจานวนเซลล์

ร่างกาย ผลจากการแบ่งจะได้เซลลใ์ หม่ 2 เซลล์ ที่
มลี กั ษณะและจานวนโครโมโซมเหมือนเซลลต์ ้ังตน้
- ไมโอซิส เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธ์ุ
ผลจากการแบ่งจะได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ ทม่ี ีจานวน
โครโมโซมเป็นครึ่งหน่ึงของเซลล์ตั้งต้น เมื่อเกิด
การปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ ลูกจะได้รับการ
ถ่ายทอดโครโมโซมชุดหน่ึงจากพ่อและอีกชุดหน่ึง

24

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 พนั ธกุ รรม สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลลข์ องสง่ิ มชี วี ติ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
จากแม่ จึงเป็นผลให้รุ่นลูกมีจานวนโครโมโซม
เทา่ กบั รุ่นพ่อแมแ่ ละจะคงทีใ่ นทุก ๆ ร่นุ

5. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

การแบ่งเซลล์เป็นกระบวนการหน่ึงในการเจริญเติบโตของสิ่งมีชวี ิต ซ่ึงเกิดขึ้นตลอดเวลาต้ังแต่สิ่งมีชวี ิต
ยังเป็นตัวอ่อนจนกระทั่งเจริญเติบโตเต็มวัยและตายในที่สุด กระบวนการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมี 2 แบบ
คอื ไมโทซิส และไมโอซสิ

ไมโทซิสเป็นการแบ่งเซลล์เพื่อเพ่ิมจานวนเซลล์รา่ งกาย ทาให้สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต หรือแบ่งเซลล์
เพื่อทดแทนเซลลท์ ีต่ ายไป ได้เซลลใ์ หม่จานวน 2 เซลล์ แตล่ ะเซลล์มจี านวนโครโมโซมเหมอื นเซลลต์ ั้งตน้

ไมโอซิสเป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ซ่ึงจะได้เซลล์สืบพันธุ์จานวน 4 เซลล์ แต่ละเซลล์มี
จานวนโครโมโซมเป็นครงึ่ หนึ่งของเซลลต์ งั้ ต้น

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น

1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด

1) ทกั ษะการสังเกต
2) ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู
3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. มวี นิ ัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ ม่ันในการทางาน

8. คาถามสาคญั

1. ทาไมสงิ่ มีชีวติ จงึ ต้องมีการแบ่งเซลล์
2. การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ แตกต่างกบั การแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซสิ อยา่ งไร

25

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 พนั ธุกรรม
แผนฯ ที่ 3 การแบง่ เซลลข์ องสงิ่ มชี ีวติ

9. กิจกรรมการเรยี นรู้

 วิธีการสอนโดยเน้นรปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงที่ 1-2

ข้นั นา

ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
4. ครูเปิดวีดิทัศน์เกี่ยวกับการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ให้นักเรียนศึกษา โดยอาจนามาจากแหล่งต่าง ๆ
เชน่
- https://youtu.be/U8NXvm53S-0
5. นกั เรียนศกึ ษาวิดีทศั นท์ ค่ี รเู ปิดให้ดแู ลว้ บันทกึ สาระสาคัญลงในสมุดประจาตวั ของนักเรยี น
6. ครตู งั้ คาถามให้นกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายจากวดี ทิ ัศน์ เช่น
- การแบง่ เซลล์เกดิ ขึ้นเมื่อใด
- การแบ่งเซลล์มปี ระโยชนต์ อ่ ส่ิงมีชีวิตอยา่ งไร
- เซลลท์ กุ เซลลม์ ีการแบง่ เซลล์หรือไม่
7. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เติมว่า
“การแบ่งเซลล์มี 2 กระบวนการหลัก ได้แก่ การแบ่งนิวเคลียส และการแบ่งไซโทพลาซึม
ซงึ่ การแบ่งนิวเคลยี สมี 2 แบบ ไดแ้ ก่ แบบไมโทซิสและแบบไมโอซสิ ซงึ่ นักเรียนจะได้ศกึ ษาตอ่ ไป”

ข้ันสอน

ข้ันท่ี 2 สารวจคน้ หา (Explore)
1. นักเรียนแต่ละคนศึกษาเร่ือง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน
(ชุด สัมฤทธิ์มาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 แล้วบันทึกสาระสาคัญลงในสมุดประจาตัวนักเรียน
และคิดคาถามเกีย่ วกบั การแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซสิ อย่างน้อย 3 คาถาม
2. นักเรียนจับคู่กับเพื่อแลกเปล่ียนกันถามคาถามและตอบคาถามที่นักเรียนตั้งไว้ และร่วมกันสรุป
ความรจู้ นเข้าใจตรงกนั
3. นักเรียนแต่ละคู่รวมกลุ่มกันจานวน 3 คู่ เป็นจานวน 6 คน เพื่อปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง การแบ่งเซลล์
ของส่ิงมีชีวิต จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิมาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
โดยศึกษาเฉพาะเซลล์ของปลายรากหอมกอ่ น
4. ระหว่างท่ีนักเรียนทากิจกรรมครูควรช้ีแนะให้นักเรียนเปรียบเทียบลักษณะของเซลล์ที่เห็นจาก
กลอ้ งจุลทรรศน์กับภาพในหนังสือเรียน หรอื สืบคน้ เพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น อนิ เทอร์เน็ต
และขณะท่ีนักเรียนบนั ทกึ ผลการทากจิ กรรมควรบนั ทกึ กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ดว้ ย

26

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 พันธุกรรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบง่ เซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ

5. ครตู งั้ คาถามใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกนั ตอบคาถาม
- การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเป็นการแบง่ เซลลเ์ พ่อื อะไร
(แนวตอบ เพอ่ื เพ่มิ จานวนเซลลร์ า่ งกาย หรือทดแทนเซลลท์ ตี่ ายไป)
- การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ ไดเ้ ซลลใ์ หม่จานวนกเ่ี ซลล์
(แนวตอบ 2 เซลล)์
- เซลล์ใหม่ท่ีไดจ้ ากการแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซิสมีจานวนโครโมโซมเทา่ ใด
(แนวตอบ เท่ากบั เซลลต์ ้ังตน้ )
- การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสประกอบด้วยกีข่ ้ันตอน อะไรบ้าง
(แนวตอบ 5 ข้ันตอน ได้แก่ อินเตอร์เฟส โพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโลเฟส ตามลาดับ)
- การแบง่ เซลล์ในขน้ั ตอนใด จะสังเกตเหน็ โครโมโซมเรยี งตัวกนั บริเวณกลางเซลล์ชัดเจน
(แนวตอบ เมทาเฟส)
- ขั้นตอนใดทส่ี ังเกตเหน็ นวิ คลีโอลสั ได้อยา่ งชัดเจน
(แนวตอบ อินเตอร์เฟส)
- ข้นั ตอนใดของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ โครโมโซมจะถูกดึงแยกให้ออกจากกันไปยงั ขั้วเซลล์
(แนวตอบ แอนาเฟส)
- จากการทากิจกรรมนักเรยี นสงั เกตเห็นเซลล์ในระยะใดมากทีส่ ดุ
(แนวตอบ ขน้ึ อยกู่ ับผลการทากจิ กรรม)

6. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เร่ือง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส โดยครูคอยชี้แนะประเด็นที่
อาจขาดหายไป

ชวั่ โมงที่ 3

ข้นั ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
7. ครูนาอภิปรายว่า นักเรียนคิดว่าการแบ่งเซลล์สืบพันธุ์มีลักษณะเช่นเดียวกับท่ีนักเรียนศึกษามาแล้ว
หรอื ไม่ อย่างไร จากนนั้ ครเู ปิดวดิ ีทศั น์เกีย่ วกับการแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซิสให้นักเรยี นศึกษา
- https://youtu.be/72ar1qGGS0k
8. ให้นกั เรยี นแตล่ ะคเู่ ดมิ ทศ่ี ึกษา เรอื่ ง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส มารว่ มกนั ศึกษา เร่อื ง การแบ่งเซลล์
แบบไมโอซิส จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน (ชุด สัมฤทธิ์มาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 บันทึก
สาระสาคัญลงในสมุดประจาตวั นักเรียน และคดิ คาถามเกีย่ วกบั การแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ อย่างน้อย
3 คาถาม
9. นักเรียนรวมกล่มุ กันจานวน 3 คู่ เปน็ จานวน 6 คน เพ่ือแลกเปล่ยี นกันตอบคาถามทน่ี กั เรียนต้ังไว้
10. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม เร่ือง การแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
(ชุด สมั ฤทธ์ิมาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เลม่ 1 โดยศึกษาเซลล์อับเรณขู องดอกกุยช่าย

27

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พนั ธุกรรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลลข์ องสงิ่ มชี ีวติ

11. ระหว่างที่นักเรียนทากิจกรรมครูควรชี้แนะให้นักเรียนเปรียบเทียบลักษณะของเซลล์ท่ีเห็นจาก
กล้องจลุ ทรรศน์กับภาพในหนังสือเรียน หรือสืบคน้ เพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต
และขณะท่นี กั เรียนบนั ทึกผลการทากิจกรรมควรบนั ทกึ กาลงั ขยายของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ไวด้ ้วย

12. ครตู ้ังคาถามใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันตอบคาถาม
- การแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ เป็นการแบ่งเซลล์เพ่อื อะไร
(แนวตอบ เพ่อื สรา้ งเซลลส์ บื พันธ)์ุ
- การแบง่ เซลล์แบบไมโอซิสได้เซลล์ใหม่จานวนกเ่ี ซลล์
(แนวตอบ 4 เซลล)์
- เซลล์ใหมท่ ไี่ ด้จากการแบง่ เซลล์แบบไมโอซสิ มีจานวนโครโมโซมเทา่ ใด
(แนวตอบ ครึง่ หน่ึงของเซลล์ต้ังตน้ )
- ฮอมอโลกัสโครโมโซมคืออะไร
(แนวตอบ ฮอมอโลกัสโครโมโซม คือ โครโมโซมที่มีรูปร่างเหมือนกันและลาดับยีนท่ีควบคุม
ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่ตี าแหนง่ เดยี วกัน)
- เซลล์ดิพลอยดก์ บั เซลลแ์ ฮพลอยด์ตา่ งกนั อยา่ งไร
(แนวตอบ เซลลด์ พิ ลอยดม์ โี ครโมโซม 2 ชุด ส่วนเซลล์แฮพลอยด์ มโี ครโมโซม 1 ชดุ )
- เซลลส์ บื พนั ธุ์ท่ไี ด้จากการแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซิสมีการแบง่ เซลลต์ อ่ ไปอีกหรอื ไม่ อย่างไร
(แนวตอบ เซลลสืบพันธุ์จะไม่แบ่งเซลล์อีก แต่จะรวมกับเซลล์สืบพันธุ์อีกเซลล์หนึ่ง ทาให้ได้
ตัวอ่อนของสิ่งมชี วี ติ )

ชวั่ โมงที่ 4

ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
13. นักเรียนแต่ละคนสรุปความรู้ของตนเองจากการศึกษา เร่ือง การแบ่งเซลล์ของส่ิงมีชีวิต ในรูปแบบ

ของแผนผงั ความคิด
14. ครสู ุม่ นักเรียน 2-3 คนนาเสนอแผนผังความคิด เรือ่ ง การแบ่งเซลล์ของส่ิงมชี ีวติ
15. นักเรียนแต่ละคนเปรียบเทียบการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสกับการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส โดย

ทาใบงานท่ี 2.3.1 เรอื่ ง การแบ่งเซลล์ของส่ิงมีชีวติ
ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
16. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มทปี่ ฏิบัตกิ ิจกรรม เรอ่ื ง การแบ่งเซลลข์ องส่ิงมีชวี ิต และรว่ มกนั ออกแบบและสร้าง

แบบจาลองข้ันตอนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส และการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส และนามาส่งครูใน
ชวั่ โมงถัดไป

28

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบง่ เซลลข์ องสงิ่ มชี ีวติ

ขัน้ สรปุ

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
7. นกั เรยี นร่วมกันสรปุ ความรู้เกย่ี วกบั การแบง่ เซลลข์ องสง่ิ มชี ีวิต โดยมแี นวการสรุป ดงั นี้
“กระบวนการแบ่งเซลลข์ องส่ิงมีชีวติ มี 2 แบบ คือ ไมโทซสิ และไมโอซิส
ไมโทซสิ เป็นการแบ่งเซลล์เพ่ือเพ่มิ จานวนเซลลร์ ่างกาย ได้เซลลใ์ หม่จานวน 2 เซลล์ ซง่ึ แตล่ ะเซลล์
มีลักษณะและจานวนโครโมโซมเหมอื นกับเซลลต์ ัง้ ต้น
ไมโอซิส เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ได้เซลล์ใหม่จานวน 4 เซลล์ ซ่ึงแต่ละเซลล์
มจี านวนโครโมโซมเปน็ ครงึ่ หน่ึงของเซลลต์ ง้ั ตน้ ”
8. ให้นักเรียนแต่ละคนทา Exercise 3.1 จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิมาตรฐาน)
วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
9. ครปู ระเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤตกิ รรม
การทางานกลมุ่ และการนาเสนอผลงาน
10.ครตู รวจสอบผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เรอื่ ง การแบ่งเซลล์ของสงิ่ มชี ีวิต
11.ครตู รวจสอบผลการทาใบงานที่ 2.3.1 เรอ่ื ง การแบง่ เซลลข์ องสิง่ มีชวี ติ

12. ครูตรวจ Exercise 3.1 จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิมาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3

เลม่ 1

10. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน

10.1 การประเมนิ ระหวา่ ง - ใบงานท่ี 2.3.1 - ร้อยละ 60
- Exercise 3.1 ผา่ นเกณฑ์
การจดั กิจกรรม - แบบประเมินผลงาน - ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
1) การแบง่ เซลล์ของ - ตรวจใบงานที่ 2.3.1 - แบบประเมนิ - ระดบั คณุ ภาพ 2
การปฏบิ ตั ิการ ผา่ นเกณฑ์
ส่ิงมชี ีวิต
- ระดับคุณภาพ 2
- ตรวจ Exercise 3.1 ผา่ นเกณฑ์

2) การปฏิบัติการ - ตรวจแบบจาลอง
ข้ันตอนการแบ่ง
เซลล์

- ประเมินการ
ปฏิบัตกิ าร

29

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 พนั ธุกรรม
แผนฯ ที่ 3 การแบ่งเซลลข์ องสง่ิ มีชวี ติ

รายการวดั วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
3) พฤติกรรมการ - ระดับคณุ ภาพ 2
ทางานรายบุคคล - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต ผา่ นเกณฑ์

4) พฤติกรรมการ การทางานรายบุคคล พฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
ทางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์
การทางานรายบคุ คล
5) การนาเสนอผลงาน - ระดับคณุ ภาพ 2
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต ผา่ นเกณฑ์
6) คุณลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2
อนั พึงประสงค์ การทางานกลุ่ม พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์

การทางานกลุ่ม

- ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมนิ

ผลงาน การนาเสนอผลงาน

- สงั เกตความมีวินยั - แบบประเมนิ

ใฝเ่ รียนรู้ และมุง่ มน่ั คุณลกั ษณะ

ในการทางาน อันพึงประสงค์

11. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้

11.1 สอื่ การเรยี นรู้
1) หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน (ชดุ สมั ฤทธ์ิมาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เลม่ 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2
พนั ธุกรรม
2) ใบงานท่ี 2.3.1 เร่ือง การแบง่ เซลล์ของส่งิ มีชวี ติ
3) วดี ิทศั น์เกี่ยวกบั การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิสและแบบไมโอซิส

11.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งเรียน
2) ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
3) อนิ เทอรเ์ น็ต

30

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 พันธุกรรม
แผนฯ ที่ 3 การแบง่ เซลล์ของสงิ่ มีชีวิต

ใบงานท่ี 2.3.1

เรื่อง การแบง่ เซลลข์ องสิ่งมีชวี ติ

คาช้ีแจง : ให้นกั เรียนเปรยี บเทยี บการแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซสิ กับแบบไมโอซสิ ลงในตารางทก่ี าหนดให้

ประเดน็ เปรียบเทยี บ ไมโทซสิ ไมโอซิส

ประเภทของเซลล์

จานวนเซลลใ์ หม่

จานวนโครโมโซมของเซลล์ใหม่

การแบ่งเซลล์ของเซลลใ์ หม่

การเกดิ ครอสซงิ โอเวอร์

ผลตอ่ สิ่งมชี ีวิต

31

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 พันธุกรรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลล์ของสงิ่ มีชีวติ

ใบงานท่ี 2.2.1 เฉลย

เรอื่ ง การแบง่ เซลลข์ องสิ่งมชี ีวติ

คาชแี้ จง : ใหน้ ักเรยี นเปรียบเทียบการแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซสิ กับแบบไมโอซิสลงในตารางท่ีกาหนดให้

ประเด็นเปรียบเทียบ ไมโทซสิ ไมโอซิส

ประเภทของเซลล์ เซลลร์ ่างกาย เซลล์สืบพนั ธุ์

จานวนเซลลใ์ หม่ 2 เซลล์ 4 เซลล์

จานวนโครโมโซมของเซลล์ใหม่ เท่ากับเซลลต์ ง้ั ต้น คร่งึ หนึ่งของเซลลต์ ง้ั ต้น

การแบ่งเซลล์ของเซลล์ใหม่ แบ่งเซลลไ์ ด้อกี ไมแ่ บง่ เซลล์อกี

การเกดิ ครอสซิงโอเวอร์ ไม่เกิดการครอสซงิ โอเวอร์ เกดิ การครอสซิงโอเวอร์

ผลต่อส่ิงมีชีวติ ส่งิ มีชีวติ มกี ารเจริญเติบโต ส่งิ มีชวี ติ สร้างเซลล์สืบพันธุ์

32

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 3 การแบ่งเซลล์ของสงิ่ มชี ีวิต

12. ความเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ขอ้ เสนอแนะ

ลงชือ่ .................................
( ................................ )

ตาแหน่ง .......

13. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ดา้ นความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์

 ดา้ นอ่นื ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤตกิ รรมทีม่ ปี ัญหาของนักเรียนเป็นรายบคุ คล (ถ้าม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค
 แนวทางการแก้ไข

33

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 4 ความผดิ ปกตทิ างพันธกุ รรม

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วิทยาศาสตร์
ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

เร่อื ง ความผิดปกติทางพันธุกรรม เวลา 4 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 2.1 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของสง่ิ มีชีวติ รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชวี้ ดั บอกได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมอาจทาให้เกิดโรคทางพันธุกรรม
พรอ้ มทั้งยกตวั อยา่ งโรคทางพันธุกรรม
ว 1.3 ม.3/5 ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เร่ืองโรคทางพันธุกรรม โดยรู้ว่าก่อนแต่งงานควร
ปรกึ ษาแพทย์เพือ่ ตรวจและวินจิ ฉยั ภาวะเส่ียงของลกู ที่อาจเกดิ โรคทางพนั ธุกรรม
ม.3/6

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมท่ที าใหเ้ กดิ โรคทางพันธกุ รรม และตวั อย่างโรคทาง
พนั ธกุ รรมได้ (K)

2. ลงความเหน็ จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้จากแหล่งเรยี นรูต้ า่ ง ๆ มาเชือ่ มโยงเพื่ออธบิ าายการเปล่ียนแปลง
ของยนี หรือโครโซมท่ีอาจทาให้เกิดโรคทางพนั ธุกรรมได้ (P)

3. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความรู้เรื่องโรคทางพนั ธกุ รรม (A)
4. รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ีทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย และมงุ่ มันในการศึกษา (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูท้ ้องถนิ่
พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

- การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมส่งผล
ให้เกิดการเปล่ียนแปลงลักษณะทางพันธุกรรม
ขอสิ่งมีชีวิต เช่น โรคธาลัสซีเมียเกิดจากการ
เปล่ียนแปลงของยีน กลุ่มอาการดาวน์เกิดจาก
การเปล่ียนแปลงจานวนโครโมโซม

34

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 พันธกุ รรม สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ
แผนฯ ท่ี 4 ความผดิ ปกติทางพันธกุ รรม

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
- โรคทางพันธุกรรมสามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่

ไปสู่ลูกได้ ดังน้ัน ก่อนแต่งงานและมีบุตรจึง
ควรป้องกันโดยการตรวจและวินิจฉัยภาวะ
เสี่ยงจากการถา่ ยทอดโรคทางพนั ธกุ รรม

5. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

โรคทางพันธุกรรม คือ โรคท่ีเกิดจากความผิดปกติของยีนหรือโครโมโซม ซ่ึงส่งผลให้เกิดความผิดปกติ
ของร่างกาย โดยความผิดปกติของโครโมโซมนั้นอาจเกิดจากจานวนโครโมโซมเปล่ียนแปลงไปจากปกติ
หรือเกิดจากการขาดหายไปบางส่วนของโครโมโซมบางแท่ง ซึ่งเกิดข้ึนได้ทั้งในออโตโซมและโครโมโซมเพศ
และความผิดปกติของยีนนั้นก็อาจเกิดข้ึนได้ท้ังยีนที่อยู่บนออโตโซมและยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ
โดยลักษณะอาการของโรคทางพนั ธกุ รรมแตล่ ะชนดิ จะแตกต่างกนั

โรคทางพันธุกรรมสามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้ ดังน้ัน ก่อนแต่งงานและมีบุตรจึงควรป้องกัน
โดยการตรวจและวินิจฉัยภาวะเส่ียงจากการถ่ายทอดโรคทางพนั ธกุ รรม

6. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

1) ทักษะการจาแนกประเภท
2) ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มีวินยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งมนั่ ในการทางาน

8. คาถามสาคญั

1. ความผดิ ปกตทิ างพันธุกรรมเกิดข้ึนได้อย่างไร

35

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ที่ 4 ความผิดปกติทางพันธุกรรม

9. กจิ กรรมการเรียนรู้

 วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงที่ 1-2

ขัน้ นา

ข้ันที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)
8. ครกู ระตนุ้ ความสนใจของนกั เรียนโดยให้นักเรยี นพจิ ารณาภาพผปู้ ่วยโรคทางพนั ธุกรรม
ตวั อยา่ งภาพ

สลากหมายเลข 1 สลากหมายเลข 2

สลากหมายเลข 3 สลากหมายเลข 4 สลากหมายเลข 5

สลากหมายเลข 6 สลากหมายเลข 7

9. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 7 กลุ่ม จับสลากหมายเลขภาพ เพื่อรับภาพบุคคลที่ป่วยเป็นโรคทาง
พันธกุ รรมท่ีครเู ตรยี มมาให้

36

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ที่ 4 ความผดิ ปกติทางพันธุกรรม

10.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน (ชุด
สัมฤทธม์ิ าตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 หรืออนิ เทอรเ์ นต็ เพอื่ ตอบคาถามทคี่ รกู าหนดให้ ดังนี้
- จากภาพ บคุ คลตา่ ง ๆ ปว่ ยเปน็ โรคอะไรบา้ ง และอะไรเปน็ สาเหตุทท่ี าให้เกิดโรคน้ี
- โรคทางพนั ธุกรรมเกิดขึน้ ไดอ้ ยา่ งไร
- โรคทางพนั ธกุ รรมสามารถถ่ายทอดจากบุคคลหนงึ่ ไปยังอีกบุคคลหน่ึงได้หรือไม่ อยา่ งไร

11.นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการสืบค้นหน้าช้ันเรียน โดยครูและนักเรียน
กลมุ่ อน่ื ๆ ร่วมกันเสนอแนะและอภปิ รายเพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ ร่วมกนั

ข้นั สอน

ขน้ั ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
1. ครตู ัง้ คาถามให้นักเรียนร่วมกนั คดิ ว่า นอกจากโรคทางพันธกุ รรมทง้ั 6 โรค ทศี่ ึกษาไปแล้วขา้ งต้นนั้น
ยังมีโรคทางพนั ธกุ รรมโรคอ่ืน ๆ อีกหรือไม่ และแตล่ ะโรคเกิดจากความผดิ ปกติของสง่ิ ใด
2. ให้นักเรียนกล่มุ เดิมแบง่ หน้าทกี่ ันเพอื่ ศึกษาข้อมลู เกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรม ดังนี้
- กลุม่ อาการดาวน์
- กล่มอาการเอ็ดเวิรด์
- กลุม่ อาการพาทวั
- กลุ่มอาการครดิ ูชา
- กลมุ่ อาการเทริ น์ เนอร์
- กลุ่มอาการทริปเปิลเอกซ์
- กลุ่มอาการไคลน์เฟลเทอร์
- กลุ่มอาการดบั เบิลวาย
- โรคผิวเผอื ก
- โรคธาลัสซเี มยี
- ภาวะน้วิ เกิน
- โรคตาบอดสี
- โรคฮีโมฟีเลยี
- โรคภาวะพรอ่ งเอนไซมจ์ -ี 6-พีดี

37

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ที่ 5 การดดั แปรทางพนั ธุกรรม

โดยจดบนั ทกึ สาระสาคัญลงในสมดุ ประจาตัวนักเรยี น
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปราย ลงความเห็นจากข้อมูล และสรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับโรคทาง

พันธุกรรมจากขอ้ มูลทรี่ วมรวมได้
4. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มสรปุ สาระสาคัญในรูปแบบทนี่ า่ สนใจ โดยควรมีประเด็นสาคญั ดังนี้

- ชอื่ โรคทางพันธกุ รรม
- สาเหตุ
- อาการ
ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
5. ครูสมุ่ นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอสาระสาคญั เก่ียวกบั โรคทางพนั ธกุ รรม ดงั นี้
- กลมุ่ ท่ี 1 นาเสนอโรคท่เี กิดจากการเพมิ่ จานวนออโตโซม
- กลมุ่ ท่ี 2 นาเสนอโรคทเ่ี กิดจากการขาดหายของโครโมโซม
- กลุม่ ท่ี 3 นาเสนอโรคทเี่ กิดจากความผดิ ปกตขิ องโครโมโซม X
- กลมุ่ ท่ี 4 นาเสนอโรคที่เกิดจากความผิดปกตขิ องโครโมโซม Y
- กลุ่มที่ 5 นาเสนอโรคที่เกิดจากความผดิ ปกติของยีนออโตโซม
- กลุ่มท่ี 6 นาเสนอโรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ
ระหว่างที่นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนออยู่ ครูและนักเรียนกลุ่มอ่ืน ๆ ร่วมกันเสนอแนะ เพื่อให้ได้
ข้อสรปุ ท่ตี รงกัน
6. ครูตง้ั คาถามเพอ่ื ชว่ ยให้นกั เรียนจดจาประเดน็ สาคญั ได้ดขี น้ึ เชน่
- จงบอกคาสาคญั ทเ่ี กีย่ วข้องกับกลุ่มอาการดาวน์

(แนวตอบ โครโมโซมคทู่ ่ี 21 เกนิ , มารดาอายมุ าก, ดั้งจมูกแบน หางตาชข้ี ึ้น, ปัญญาอ่อน)
- จงบอกคาสาคัญทเ่ี กี่ยวข้องกบั กลุม่ อาการคริดชู าต์

(แนวตอบ แขนโครโมโซมคทู่ ี่ 5 ขาด, เสียงร้องคล้ายแมว)
- จงบอกคาสาคัญทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั โรคธาลัสซีเมีย

(แนวตอบ ยนี บนออโตโซมผิดปกติ, เม็ดเลือดแดงผิดปกติ, ซีดเหลอื ง)
- จงบอกคาสาคญั ท่เี กี่ยวข้องกบั โรคตาบอดสี

(แนวตอบ ยนี บนโครโมโซมเพศ (โครโมโซม X) ผดิ ปกต,ิ มองเห็นสผี ดิ ปกติ)

ชั่วโมงที่ 3

ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)
7. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทากิจกรรมเร่ือง โรคทางพันธุกรรม จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน
(ชดุ สัมฤทธม์ิ าตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1

38

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ที่ 5 การดัดแปรทางพนั ธกุ รรม

8. นักเรียนท้ังห้องร่วมกันอภิปรายและสรุปผลการทากิจกรรมเรื่อง โรคทางพันธุกรรม และ
ตอบคาถามท้ายกิจกรรม

ช่ัวโมงท่ี 4

ข้นั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate)
9. ครนู าอภปิ รายเกยี่ วกับโรคทางพันธุกรรมว่า สามารถถ่ายทอดจากรุ่นพ่อแม่ไปสูร่ ุ่นลูก หรอื รนุ่ หลาน
ตอ่ ๆ ไปได้ จากนน้ั ตงั้ ประเด็นให้นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายวา่
- นักเรยี นคิดว่าจะมวี ธิ ีการป้องกันการเพิ่มข้นึ ของจานวนผู้ป่วยโรคทางพนั ธุกรรมได้อยา่ งไร
(แนวตอบ
- หลีกเล่ียงการแตง่ งานระหวา่ งเครือญาติ
- คู่สมรสควรตรวจวินจิ ฉัยภาวะเสี่ยงของลูกทอี่ าจเกดิ โรคทางพันธุกรรม
- หลีกเลี่ยงสภาวะแวดลอ้ มท่ที าใหม้ ีความเส่ียงต่อการได้รับสารท่ีอาจก่อให้เกดิ ความผิดปกติของ
ยนี หรอื โครโมโซมได้)
10. นักเรียนแต่ละคนศึกษาเพ่ิมเติมเก่ียวกับกรณีท่ีคู่สมรสควรตรวจวินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจเกิด
โรคทางพันธุกรรม แลว้ บนั ทกึ สาระสาคญั ลงในใบงานที่ 2.4.1 เร่อื ง การตรวจวนิ ิจฉยั ภาวะเสี่ยงของ
ลูกทอี่ าจเกดิ โรคทางพันธุกรรม

ขน้ั สรุป

ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
13.นกั เรียนร่วมกันสรุปความร้เู กี่ยวกบั ความผดิ ปกติทางพันธุกรรม โดยมีแนวการสรปุ ดังน้ี
“การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางพันธุกรรมของ
ส่ิงมีชีวิต ก่อให้เกิดโรคทางพันธุกรรม โดยโรคทางพันธุกรรมท่ีเกิดจากความผิดปกติของออโตโซม
เช่น กลุ่มอาการดาวน์ และโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมเพศ เช่น
กลมุ่ อาการครดิ ูชา หรือเกิดจากความผดิ ปกติของยีน เชน่ โรคธาลัสซีเมีย”
14.นักเรียนแต่ละคนทา Exercies 4.1 จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธิ์มาตรฐาน)
วิทยาศาสตร์ ม.3 เลม่ 1
15.ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางานรายบุคคล พฤติกรรม
การทางานกลมุ่ และการนาเสนอผลงาน
16.ครตู รวจสอบผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม เรอ่ื ง โรคทางพันธกุ รรม
17.ครูตรวจสอบผลการทาใบงานท่ี 2.4.1 เรื่อง การตรวจวินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกท่ีอาจเกิดโรคทาง
พนั ธุกรรม

39

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 พนั ธุกรรม
แผนฯ ท่ี 5 การดดั แปรทางพนั ธกุ รรม

18.ครูตรวจ Exercise 4.1 จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน (ชุด สัมฤทธิ์มาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3
เล่ม 1

10. การวดั และประเมนิ ผล

รายการวดั วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ
10.1 การประเมนิ ระหวา่ ง
- ตรวจใบงานท่ี 2.4.1 - ใบงานที่ 2.4.1 - ร้อยละ 60
การจดั กิจกรรม - ตรวจ Exercise 4.1 - Exercise 4.1 ผา่ นเกณฑ์
1) ความผิดปกติทาง - รอ้ ยละ 60
ผา่ นเกณฑ์
พันธุกรรม - ระดบั คุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
2) การปฏิบตั ิการ - ประเมนิ การ - แบบประเมิน
ปฏบิ ตั ิการ การปฏิบัตกิ าร

3) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดบั คุณภาพ 2
ทางาน
การทางานรายบุคคล พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์
รายบุคคล
4) พฤติกรรมการ การทางานรายบุคคล
ทางาน
- สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดับคณุ ภาพ 2
กลุ่ม
การทางานกลุ่ม พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์

การทางานกลุ่ม

5) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2
ผลงาน การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
6) คุณลักษณะอันพึง - สังเกตความมีวินยั - แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2
ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มนั่ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
ในการทางาน อันพงึ ประสงค์
11. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้

11.1 สือ่ การเรยี นรู้
1) หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน (ชุด สัมฤทธ์มิ าตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2
พันธกุ รรม
2) ใบงานที่ 2.4.1 เร่ือง การตรวจวินจิ ฉัยภาวะเสย่ี งของลกู ท่อี าจเกิดโรคทางพนั ธกุ รรม
3) ภาพผูป้ ่วยโรคทางพนั ธุกรรม

11.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งเรียน
2) อนิ เทอรเ์ นต็

40

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 5 การดัดแปรทางพนั ธกุ รรม

ใบงานท่ี 2.4.1

เรื่อง การตรวจวนิ ิจฉัยภาวะเสย่ี งของลูกทีอ่ าจเกิดโรคทางพนั ธุกรรม

คาช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ข้อมูลเกยี่ วกบั การตรวจวินิจฉัยภาวะเสีย่ งของลูกที่อาจเกิดโรคทางพนั ธกุ รรม
สรุปสาระสาคญั และบันทึกลงในกรอบท่กี าหนดให้

41

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 พันธกุ รรม เฉลย
แผนฯ ที่ 5 การดดั แปรทางพนั ธุกรรม

ใบงานท่ี 2.4.1

เร่อื ง การตรวจวนิ ิจฉยั ภาวะเส่ียงของลกู ที่อาจเกดิ โรคทางพนั ธกุ รรม

คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนสบื ค้นขอ้ มลู เกย่ี วกับการตรวจวนิ ิจฉยั ภาวะเส่ยี งของลูกที่อาจเกิดโรคทางพนั ธกุ รรม
สรุปสาระสาคญั และบนั ทกึ ลงในกรอบทกี่ าหนดให้

พจิ ารณาจากคาตอบของนักเรยี น เชน่
การตรวจคดั กรองความผดิ ปกติของโครโมโซมทารกในครรภจ์ ากเลอื ดมารดา
(Non-Invasive Prenatal Testing ; NIPT)

วิธีน้ีสามารถหาความเส่ียงการเกิดกลุ่มอาการดาวน์หรือความผิดปกติของโครโมโซมอ่ืนที่
สาคญั รวมถึงโครโมโซมเพศและเพศของทารกในครรภ์ได้

หญิงต้ังครรภ์สามารถรับการตรวจ NIPT ได้ต้ังแต่อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ขึ้นไป และเนื่องจาก
เปน็ การตรวจชนิ้ สว่ นสารพันธุกรรมจากรกท่ีปนอยู่ในเลือดของมารดา จงึ เป็นการตรวจที่ปลอดภัยและ
มีความแม่นยาสูงถึง >99% เน่ืองจากใช้เทคโนโลยีวิเคราะห์ลาดับเบส (Next Generation
Sequencing) ในการวเิ คราะห์หาความผดิ ปกติของโครโมโซม

โดยปกติมนุษย์มีจานวนโครโมโซมท้ังหมด 23 คู่ หรือ 46 โครโมโซม (ได้จากมารดา 23

13.โคบรนั โมทโกึ ซผมลจหาลกงับกิดาารส23อนโครโมโซม) ความผิดปกติของโครโมโซมอาจเกิดได้หลายลักษณะ เช่น

มีจานวดนา้ โนคครวโามมโรซู้ มเกินมา 1 แท่ง (Trisomy) ขาดไป 1 แท่ง (Monosomy) หรือมีการขาดหายไป
บางสว่ นของโครโมโซม (microdeletion)

สาเหตทุ ่ีทาใหเ้ กดิ ความผดิ ปกตขิ องโครโมโซมที่พบไดบ้ ่อยมคี วามสัมพันธ์กบั อายุของมารดาท่ี
มากข้ึน เช่น กลุ่มอาการดาวน์ โดยพบว่า มารดาอายุ 25 ปี จะมีโอกาสพบทารกท่ีมีภาวะกลุ่มอาการ
ดาวน์ ประมาณ 1:1,100 แต่จะสูงขึ้นเปน็ 1:350 ในมารดาอายุ 35 ปี และสงู ถึง 1:100 ในมารดาอายุ
40 ปี

แต่อย่างไรก็ตามความผิดปกติของโครโมโซมเกิดได้จากหลายสาเหตุ บางชนิดไม่ขึ้นกับอายุ
ของมารดา แตอ่ าจเกิดจากการสง่ ตอ่ ทางพันธุกรรม สารเคมี หรือจากหลายสาเหตุร่วมกัน

42

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ที่ 5 การดดั แปรทางพันธุกรรม

12. ความเหน็ ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ข้อเสนอแนะ

ลงชือ่ .................................
( ................................ )

ตาแหน่ง .......

13. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

 ด้านความรู้

 ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน

 ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์

 ดา้ นอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤตกิ รรมทีม่ ปี ัญหาของนักเรียนเป็นรายบคุ คล (ถ้าม)ี )

 ปัญหา/อปุ สรรค
 แนวทางการแกไ้ ข

43

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 พันธุกรรม
แผนฯ ท่ี 5 การดดั แปรทางพนั ธกุ รรม

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3

เร่ือง การดัดแปรทางพนั ธกุ รรม เวลา 4 ชัว่ โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

ว 2.1 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของส่งิ มีชวี ติ รวมทัง้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

2. ตัวชวี้ ัด อธิบายการใช้ประโยชน์จากส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมีต่อ
มนษุ ยแ์ ละส่ิงแวดล้อม โดยใชข้ ้อมลู ทีร่ วบรวมได้
ว 1.3 ม.3/7 ตระหนักถึงประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมท่ีอาจมีต่อมนุษย์
และสิ่งแวดล้อม โดยการเผยแพร่ความรู้ท่ีได้จากการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมี
ม.3/8 ขอ้ มลู สนบั สนุน

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์จากสงิ่ มชี วี ิตดดั แปรพนั ธุกรรม และผลกระทบทอ่ี าจมีตอ่ มนษุ ยแ์ ละส่ิงแวดล้อมได้ (K)
2. ลงความเหน็ จากขอ้ มูลเพ่อื อธบิ ายเกยี่ วกับการสร้างสิง่ มชี วี ติ ดดั แปรพนั ธุกรรม ประโยชนแ์ ละผลกระทบ

ของสง่ิ มีชวี ิตดัดแปรพันธุกรรมต่อสังคมและส่ิงแวดล้อมได้ (P)
3. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์และผลกระทบของส่งิ มชี ีวติ ดัดแปรพนั ธกุ รรมที่อาจมตี ่อมนุษย์และส่ิงแวดลอ้ ม (A)
4. รับผิดชอบตอ่ หนา้ ทีท่ ่ีไดร้ ับมอบหมาย และมงุ่ ม่ันในการศกึ ษา (A)

4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน
พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- มนุษยเ์ ปลีย่ นแปลงพันธกุ รรมของสิง่ มีชวี ิตตาม
ธรรมชาติ เพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตท่ีมีลักษณะตาม
ต้องการ เรียกสิ่งมีชีวิตน้ีว่า ส่ิงมีชีวิตดัดแปร
พนั ธุกรรม

44

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 พันธุกรรม สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น
แผนฯ ท่ี 5 การดดั แปรทางพนั ธกุ รรม

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- ในปัจจุบันมนุษย์มีการใช้ประโยชน์จาก

ส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเป็นจานวนมาก
เช่น การผลิตอาหาร การผลิตยารักษาโรค
การเกษตร อย่างไรก็ดี สังคมยังมีความกังวล
เ ก่ี ย ว กั บ ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ดั ด แ ป ร
พันธุกรรมที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ซึ่ง
ยังทาการตดิ ตามศึกษาผลกระทบดังกล่าว

5. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม คือ ส่ิงมีชีวิตท่ีมีการเปล่ียนแปลงพันธุกรรมโดยมนุษย์ ซึ่งเป็นกระบวนการ
ที่นอกเหนือไปจากการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ การสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมทาได้โดยการ
ถ่ายทอดยีนท่ีมีลักษณะท่ีต้องการจากส่ิงมีชีวิตหนึ่งเข้าไปอยู่ในดีเอ็นเอของส่ิงมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ทาให้
ส่งิ มีชวี ติ ท่ีได้รับยนี เกิดการแสดงออกของยีนท่ีต้องการ และลักษณะดังกลา่ วสามารถถ่ายทอดไปยังรนุ่ ต่อไป
ตัวอย่างของส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม เช่น ข้าวโพด มะละกอ ถั่วเหลือง โดยมนุษย์ใช้ประโยชน์จาก
สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเป็นจานวนมากในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการแพทย์ ด้านอุตสาหกรรม
ดา้ นการเกษตร

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ

1) ทักษะการสังเกต
2) ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มูล
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. มีวินัย
2. ใฝ่เรยี นรู้
3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

45

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พันธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 5 การดดั แปรทางพันธุกรรม

8. คาถามสาคัญ

1. สงิ่ มชี วี ิตดดั แปรพนั ธุกรรมคอื อะไร
2. สิง่ มชี วี ิตดัดแปรพนั ธุกรรมมปี ระโยชนแ์ ละผลกระทบต่อมนษุ ย์อยา่ งไร

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้

 วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงท่ี 1
ข้ันนา

ขั้นท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage)
12.ครูนาบัตรภาพผลผลิตของส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมาให้นักเรียนร่วมกันพิจารณา จากน้ันครู
ตัง้ คาถามเพือ่ กระตุ้นความสนใจของนักเรียน ดงั นี้
- นักเรียนเคยพบเหน็ อาหารที่มีฉลากดังเช่นภาพตัวอย่างหรือไม่ หากเคยพบเห็นให้ระบุวา่ พบเห็น
ที่ไหน อย่างไร
- เพราะเหตุใดอาหารดงั กลา่ วนนั้ จงึ มฉี ลากนั้นตดิ อยู่
ตวั อยา่ งภาพ

46

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 พนั ธุกรรม
แผนฯ ท่ี 5 การดดั แปรทางพันธกุ รรม

ชัว่ โมงที่ 2

ข้ันสอน

ขน้ั ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)
7. ครูแจง้ ใหน้ ักเรียนทราบว่าเราจะศึกษาเร่ืองการดดั แปรพันธุกรรม
8. ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ การดัดแปรพันธุกรรม จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิ
มาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3 เลม่ 1 หรือสบื คน้ ข้อมูลจากแหล่งเรยี นรู้อืน่ ๆ เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็

3. ให้นกั เรียนรว่ มกนั เล่นเกม ตามขนั้ ตอน ดงั น้ี
1) นักเรียนท้งั หมดในช้ันเรยี นแบง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ กลุม่ ละเท่า ๆ กัน
2) แต่ละกลุ่มผลัดกันส่งตัวแทนออกมาเขียนช่ือสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมหน้าชั้นเรียนกลุ่มละ 1
ชื่อ (ใช้ปากกาสีตา่ งกนั ) โดยจบั เวลาในการเขยี นแต่ละคร้งั ครัง้ ละไม่เกิน 10 วินาที
(ระหว่างท่ีนักเรียนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งออกไปเขียนชื่อหน้าช้ันเรียน ให้นักเรียนอีกกลุ่มหน่ึงช่วยกัน
นบั เวลาถอยหลัง)
3) นักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันเขียนช่ือส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมไปเรื่อย ๆ จนกระท่ังมีกลุ่มใด
กลมุ่ หนง่ึ ไมส่ ามารถเขยี นต่อไปไดอ้ ีก

4. ครูมอบรางวัลใหน้ ักเรียนกลุม่ ทแ่ี ขง่ ขันเกมชนะ โดยอาจเป็นลกู อม หรือขนมตา่ ง ๆ
5. ครูและนักเรียนทุกคนร่วมกันตรวจสอบช่อื ส่ิงมีชีวิตดัดแปนพันธุกรรมที่แข่งกันในเกมข้างต้น แล้ว

รว่ มกันสรปุ ผลจากการทากจิ กรรม เพ่ือใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่
“ส่งิ มีชวี ติ ดดั แปรพนั ธกุ รรมมีท้งั จลุ ินทรยี ์ พืช และสัตว์”

ช่ัวโมงที่ 3

ข้นั สอน

ขนั้ ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore)
6. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่าจะจัดกิจกรรมโต้วาทีกันในหัวข้อ ส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมีประโยชน์
หรอื โทษมากกว่ากนั
7. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเดิมเหมือนกลุ่มท่ีแข่งขันเกมเม่ือชั่วโมงท่ีผ่าน แล้วให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทน
ออกมาจับสลากทีมโต้วาที โดยทีมท่ีจับได้ฝ่ายเสนอให้นาเสนอประโยชน์ของสิ่งมีชีวิตดัดแปร
พนั ธกุ รรม และทมี ทจี่ ับไดฝ้ า่ ยคา้ นใหน้ าเสนอโทษของสิง่ มีชวี ติ ดัดแปรพนั ธกุ รรม

47

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พนั ธกุ รรม
แผนฯ ท่ี 5 การดัดแปรทางพนั ธุกรรม

8. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็นท่ีกลุ่มตนเองจับสลากได้ และ
สรปุ สาระสาคญั เพ่อื เตรยี มการโต้วาที

ขัน้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มละ 3 คน ออกมาโต้วาทีกันในหัวข้อ สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมี
ประโยชน์หรือโทษมากกว่ากัน โดยเร่ิมจากกลุ่มท่ีเป็นฝ่ายเสนอ ซ่ึงควรใช้เวลาในการนาเสนอคนละ
ประมาณ 5 นาที
10. ระหวา่ งทตี่ ัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอการโต้วาที ให้นกั เรยี นคนอ่ืน ๆ จดบันทึกสาระสาคัญลงในสมุด
ประจาตวั ของนกั เรียน
11. เมื่อตัวแทนนักเรียนทุกคนนาเสนอการโต้วาทีครบแล้ว ครูและนักเรียนทั้งห้องร่วมกันอภิปราย
เก่ียวกับประโยชน์และโทษของสิ่งมีชีวติ ดัดแปรพันธุกรรมต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อม เพ่ือให้นักเรียน
เหน็ มมุ มองของสังคมเกีย่ วกับเรอ่ื งดังกลา่ ว
12. ครูกล่าวสรุปเกี่ยวกับการโต้วาทีว่า ปัจจุบันสังคมยังมีมุมมองเก่ียวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ทีแ่ ตกตา่ งกนั ซ่งึ ยังคงต้องมกี ารติดตามศึกษาผลกระทบกันอย่างต่อเนื่อง

ช่ัวโมงที่ 4

ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
13. ให้นักเรียนแต่ละคนทาใบงานที่ 2.5.1 เรื่อง ส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมท่ีฉันสนใจ โดยสืบค้นข้อมูล
เกี่ยวกับส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมชนิดใดชนิดหนึ่งท่ีนักเรียนสนใจเป็นพิเศษ และสรุปความรู้ที่
รวบรวมมาได้

ขนั้ สรุป

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
19.นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้เกีย่ วกบั การดดั แปรทางพนั ธกุ รรม โดยมีแนวการสรปุ ดังน้ี
“ส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม คือ สิ่งมีชีวิตที่มีการเปล่ียนแปลงพันธุกรรมโดยมนุษย์ซ่ึงเป็น
กระบวนการที่นอกเหนือไปจากการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ การสร้างส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
ทาได้โดยการถ่ายทอดยีนที่มีลักษณะที่ต้องการจากสิ่งมีชีวิตหนึ่งเข้าไปอยู่ในดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิต
อีกชนิดหน่ึง ทาให้ส่ิงมีชีวิตนั้นได้รับยีน และเกิดการแสดงออกของยีนตามที่ต้องการ และลักษณะ
ดังกล่าวสามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้ โดยมนุษย์ใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
เพื่อตอบสนองและเพียงพอต่อความต้องการ เช่น การผลิตอาหาร การผลิตยารักษาโรค การเกษตร
แต่มุมมองของสังคมเก่ียวกับสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมยังคงมีท้ังเหน็ ด้วยและไม่เห็นด้วย ดังนั้น จึง
ต้องศกึ ษาและติดตามผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ จนกว่าจะได้ขอ้ สรุปทีแ่ น่ชัด”

48

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 พันธุกรรม
แผนฯ ท่ี 5 การดดั แปรทางพนั ธกุ รรม

2. ให้นักเรียนแต่ละคนทา Exercise 5.1 จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน (ชุด สัมฤทธิ์มาตรฐาน)
วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1

3. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม พฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม และการนาเสนอ
ผลงาน

4. ครูตรวจสอบผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม เรอ่ื ง ส่งิ มีชวี ติ ดัดแปรพนั ธกุ รรม
5. ครูตรวจสอบผลการทาใบงานท่ี 2.5.1 เร่อื ง ส่งิ มชี วี ิตดดั แปรพนั ธุกรรมทีฉ่ ันสนใจ
6. ครูตรวจ Exercise 5.1 จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน (ชุด สัมฤทธ์ิมาตรฐาน) วิทยาศาสตร์ ม.3

เล่ม 1

10. การวัดและประเมินผล

รายการวัด วิธกี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ
10.1 การประเมินระหว่าง
- ตรวจใบงานท่ี 2.5.1 - ใบงานที่ 2.5.1 - ร้อยละ 60
การจดั กิจกรรม - ตรวจ Exercise 5.1 - Exercise 5.1 ผา่ นเกณฑ์
1) การดัดแปรทาง - ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
พันธุกรรม

2) การปฏบิ ตั ิการ - ประเมินการ - แบบประเมนิ - ระดบั คณุ ภาพ 2
ปฏิบัติการ การปฏิบัติการ ผา่ นเกณฑ์

3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดบั คุณภาพ 2
ทางาน
การทางานรายบุคคล พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์
รายบุคคล
4) พฤติกรรมการ การทางานรายบุคคล
ทางาน
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดับคุณภาพ 2
กลุม่
5) การนาเสนอผลงาน การทางานกลุ่ม พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์

6) คุณลกั ษณะอันพึง การทางานกลุ่ม
ประสงค์
- ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมิน - ระดบั คณุ ภาพ 2

ผลงาน การนาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

- สังเกตความมีวินยั - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2

ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมัน่ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์

ในการทางาน อนั พงึ ประสงค์

49