ค่าจ้าง ทํา ของ กับค่าบริการ

                ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย หรือ หัก ณ ที่จ่าย คือเงินที่คน “จ่าย” ที่จดทะเบียนเป็นบริษัทหรือนิติบุคคลต้อง “หัก” ไว้ก่อนที่จะจ่ายเงินให้กับคนรับที่เป็นนิติบุคคล หรือคนธรรมดาก็ได้ แล้วนำส่งเป็นภาษีให้กรมสรรพากรไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร

ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย หรือ หัก ณ ที่จ่าย คือเงินที่คน “จ่าย” ที่จดทะเบียนเป็นบริษัทหรือนิติบุคคลต้อง “หัก” ไว้ก่อนที่จะจ่ายเงินให้กับคนรับที่เป็นนิติบุคคล หรือคนธรรมดาก็ได้ แล้วนำส่งเป็นภาษีให้กรมสรรพากรไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป

ในการทำหัก ณ ที่จ่ายจะต้องรู้ 2 เรื่องคือ

  1. คนรับเงินคือใคร (กระทบต่อแบบที่ยื่น)
  2. จ่ายค่าอะไร (กระทบอัตราภาษีที่หัก)

ทุกครั้งที่ทำการหักไว้ คนที่หักต้องออกหนังสือรับรองหัก ณ ที่ จ่าย ให้กับคู่ค้าของเราไว้ด้วยทุกครั้ง โดยออกอย่างน้อย 4 ฉบับ คือ ต้นฉบับและสำเนา 2 ฉบับแรกออกให้คู่ค้า เพื่อให้คู่ค้าเก็บไว้ใช้ขอคืนภาษีฉบับหนึ่ง และเก็บไว้เป็นหลักฐานฉบับหนึ่ง ส่วนฉบับที่ 3 และ 4 เราเก็บไว้เอง โดยฉบับที่ 3 เอาไว้สำหรับส่งภาษี (โดยปกติก็จะส่งฉบับนี้ให้กับสำนักงานบัญชีเป็นผู้ทำให้) และฉบับที่ 4 เราเก็บไว้เป็นหลักฐาน

ผู้ออกหนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่ายสามารถใช้โปรแกรมบัญชีช่วยในการออกเอกสารได้อย่างง่ายๆ แล้ว ลองใช้โปรแกรมบริการบัญชีสำเร็จรูป Business Plus ERP ซึ่งสามารถออกหนังสือรับรอง หัก ณ ที่จ่ายนี้ได้

ค่าใช้จ่ายที่ต้องทำ หัก ณ ที่จ่าย มีอะไรบ้าง

แต่ละประเภทค่าใช้จ่ายนั้นจะถูกหัก ณ ที่จ่ายในเปอร์เซ็นต์ที่แตกต่างกัน ดังนี้

ทุกๆ ครั้งที่มีการขายของและขนส่ง โดยที่บริษัทหรือนิติบุคคลที่ให้บริการจะต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการขนส่ง เช่น บริการขนส่งสินค้าจากบริษัท โลจิสติกส์ เป็นต้น จะต้อง หัก ณ ที่จ่าย 1% แต่ถ้าคุณยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นนิติบุคคลก็ยังไม่ต้องหัก
 แต่! ถ้าเป็นไปรษณีย์ไม่ต้องหัก ณ ที่จ่าย เพราะเป็นหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้น

การโฆษณาสินค้าตามสื่อโฆษณาต่างๆ ผ่านเอเจนซี บริษัทรับโฆษณา เพื่อช่วย “ประกาศ” ให้แบรนด์หรือสินค้าเป็นที่รู้จักผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ หรือช่องทางโซเชียลมีเดียต่างๆ เช่น Facebook, Instagram ที่ไม่ใช่บริการด้านการตลาด ทำหัก ณ ที่จ่าย 2%
      ส่วนบริการด้านการตลาดคือ การจ้างบล็อกเกอร์รีวิวโฆษณาสินค้า จ้างมาร์เก็ตติ้ง Consult ด้านการตลาดให้ หรือบริการทำ roll-up ป้ายออกบูท (อันนี้ถือเป็นการรับจ้างทำของ) จะต้องหัก 3%

  • หัก 3% สำหรับจ้างรับเหมาหรือบริการต่างๆ

ค่าบริการที่เกิดขึ้นในกิจการทุกอย่างจะต้องมีการ หัก ณ ที่จ่าย 3% เช่น บริการรับจ้างทำของ จ้างทำนามบัตร จ้างทำกราฟิก จ้างช่างภาพมาถ่ายรูป จ้างบล็อกเกอร์รีวิวสินค้า จ้างตกแต่งภายใน บริการสถานที่ ซอฟต์แวร์ โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต ก็เข้าข่ายนี้ เพราะถือเป็นการให้บริการ

  • หัก 5% สำหรับค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์

คนที่ไม่มีสถานที่เป็นของตนเอง หากจะดูว่าเป็นค่าเช่าหรือค่าบริการให้ดูจากสิทธิในการถือกุญแจ ถ้าเช่าสถานที่เพื่อจัดสัมมนา หรือจัดอีเวนต์ชั่วคราวถือเป็นค่าบริการ ทำหัก ณ ที่จ่าย 3% แต่ถ้าเราถือกุญแจจะถือเป็นค่าเช่าสถานที่ต้องหัก ณ ที่จ่ายจากเจ้าของที่ดิน 5%
      นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ อีกที่ต้องหัก 5% เช่น เช่ารถยนต์ ค่าจ้างนักแสดง ดารา นักร้อง อาชีพเพื่อการบันเทิง และเงินรางวัลจากการแข่งขันหรือการชิงโชคต่างๆ ด้วย

แต่! ถ้าเช่ารถยนต์พร้อมคนขับด้วย เราถือกุญแจรถก็จริง แต่จะถือว่าเป็นการบริการ เพราะมีคนขับรถให้ต้องทำหัก ณ ที่จ่าย 3%

ค่าจ้าง ทํา ของ กับค่าบริการ

1.กรณีทำสัญญาระยะสั้น (Short Term Contract)
กรณีการทำสัญญารายหนึ่ง ๆ หรือครั้งหนึ่ง ๆ มีการตกลงจ่ายค่าจ้างหรือสินจ้างไม่ถึง 1,000 บาท ผู้จ่ายเงินไม่มี
หน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ตัวอย่าง
การจ่ายค่าจ้างทำของโดยทำสัญญาครั้งต่อครั้งและ เป็นจำนวนเงิน 900 บาท เมื่อไม่ถึง 1,000 บาท ผู้จ่ายเงิน
ไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้

2. กรณีทำสัญญาระยะยาว (Long Term Contract)
ถ้าการจ่ายเงินในครั้งใด เมื่อรวมกับการจ่ายเงินในครั้งก่อนๆ มียอดเงินที่จ่ายถึง 1,000 บาทก็ต้องหัก ณ ที่จ่าย
ตัวอย่าง
การจ่ายค่าบริการรายเดือนค่าโทรศัพท์ เดือนละ 399 บาท
จ่ายเดือนที่ 1 399 (ยังไม่ถึง 1,000 ไม่ต้องหัก ณ ที่จ่าย)
จ่ายเดือนที่ 2 399 (รวมกับเดือนแรกที่จ่าย =399+399 = 798)
จ่ายเดือนที่ 3 399 (รวมกับเดือนที่ 1 และเดือนที่ 2 = 399+399+399 =1,197)
จะเห็นได้ว่าเดือนที่ 3 ยอดเกิน 1,000 บาท ดังนั้นก็ต้องหัก ณ ที่จ่าย

* คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528,
คำชี้แจงกรมสรรพากร เรื่องการหัก ณ ที่จ่ายตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 101/2544 เรื่องสั่งให้ผู้จ่ายเงินได้พึง
ประเมินตามมาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากรมีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย)

เกร็ดความรู้กับธรรมนิติ : จ่ายเงินค่าจ้าง ค่าบริการไม่ถึง 1,000 บาทต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือไม่?

ค่าจ้าง ทํา ของ กับค่าบริการ

12 Sepหัก ณ ที่จ่ายอย่างไร สำหรับการขายสินค้าพร้อมให้บริการ

Posted at 16:33h in All, ภาษีหัก ณ ที่จ่าย by admin_pnk

1. แยกค่าสินค้า และค่าติดตั้ง ออกจากกัน หักภาษี ณ ที่จ่าย 3% เฉพาะค่าติดตั้ง

  • แยกคนละบิล

ค่าจ้าง ทํา ของ กับค่าบริการ

ค่าจ้าง ทํา ของ กับค่าบริการ

ตัวอย่าง
บริษัทฯ แยกค่าสินค้าและค่าบริการติดตั้งออกจากกันเป็น 2 ฉบับ
คือ ค่าสินค้าหนึ่งฉบับ และค่าบริการติดตั้งหนึ่งฉบับ
เฉพาะค่าบริการที่แยกออกจากราคาสินค้าเข้าลักษณะเป็นเงินได้จากการรับจ้างทำของ ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย จากเงินได้พึงประเมินที่จ่ายในอัตราร้อยละ 3.0

แยกคนละรายการในบิลใบเดียวกัน

ค่าจ้าง ทํา ของ กับค่าบริการ

ตัวอย่าง
บริษัทฯ แยกค่าสินค้าและค่าติดตั้งออกจากกันต่างหากในบิลเดียวกัน เป็น

    1. ค่าสินค้า          20,000 บาท
    2. ค่าติดตั้ง            5,000 บาท

รวม          25,000 บาท

กรณีดังกล่าวเฉพาะค่าติดตั้ง 5,000 บาทเท่านั้น เข้าลักษณะเป็นการรับจ้างทำของ ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย จากเงินได้พึงประเมินที่จ่ายในอัตราร้อยละ 3.0

2. รวมค่าสินค้าและค่าแรงในบิลเดียวกัน ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย

ค่าจ้าง ทํา ของ กับค่าบริการ

ตัวอย่าง
บริษัทฯ เรียกเก็บเงินเป็นค่าสินค้าพร้อมค่าบริการติดตั้ง 25,000 บาท (lump sum) ถือเป็นการขายสินค้าทั้งจำนวน
ผู้จ่ายเงินได้ไม่อยู่ในบังคับต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

อ้างอิง : มาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร ประกอบกับข้อ 8 ของคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป.4/2528ฯ

ที่มา : เกร็ดความรู้กับธรรมนิติ : หัก ณ ที่จ่ายอย่างไร? สำหรับการขายสินค้าพร้อมให้บริการ

Post Views: 2,760

Share

Print page

บริการ กับ จ้างทําของ ต่างกันอย่างไร

ค่าจ้างทำของคือการที่เราไปจ้างให้เขาทำของขึ้นมาตามแบบที่เราต้องการ ส่วนการให้บริการจะเน้นที่การให้บริการเป็นหลัก เช่นการให้บริการซ่อมเครื่องจักร เป็นต้น

ค่าจ้างทำของ คืออะไร

------------------------- มาตรา ๕๘๗ อันว่าจ้างทำของนั้น คือสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่าผู้รับจ้าง ตกลงจะทำการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสำเร็จให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้ว่าจ้าง และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น

ค่าบริการ เป็นรายได้ประเภทไหน

เงินได้ประเภทที่ 7 คือ เงินได้พึงประเมินในรูปของ ค่ารับเหมาทั้งค่าแรงและค่าของ ที่ทำให้ผู้รับเงินมีหน้าที่ต้องเสีย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในวงการภาษีบางครั้งก็เรียกว่า เงินได้ 40(7)

ค่าบริการกี่เปอร์เซ็น

ภาษีหัก ณ ที่จ่ายกี่เปอร์เซ็นต์.