Waterfall model ข้อดี ข้อเสีย

Waterfall model ข้อดี ข้อเสีย
โมเดลแบบก้าวหน้า

Incremental Model หรือ โมเดลแบบก้าวหน้า เป็นโมเดลที่มีการวิวัฒนาการมาจากโมเดลน้ำตก (Waterfall Model) เนื่องจากโมเดลน้ำตก (Waterfall Model) มีข้อเสียคือ ต้องมีการดำเนินการเป็นขั้นตอนให้เสร็จสิ้นก่อนจึงจะดำเนินการขั้นต่อไป ซึ่งหากเป็นโครงการซอฟต์แวร์ที่มีขนาดใหญ่อาจต้องใช้เวลามาก

หลักการของ Incremental Model คือ การแบ่งระบบงานออกเป็นระบบย่อยต่าง ๆ โดยระบบย่อยเรียกว่า Increment เปรียบเสมือนกับโครงการขนาดเล็ก (Mini Project) โดยจะทำการพัฒนาระบบงานที่เป็นงานหลักของระบบก่อน จากนั้นพัฒนาต่อเติมในแต่ละ  Increment ตามลำดับ จนกระทั้งได้ระบบงานที่เสร็จสมบูรณ์

ขั้นตอนการทำงานของ  Incremental Model

  1. การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบ
  2. การวางแผนและการกำหนดความต้องการ
  3. การออกแบบระบบ
    • ออกแบบรายละเอียดของระบบย่อย
    • พัฒนาและทดสอบระบบ
    • นำระบบย่อยต่าง ๆ มาประกอบรวมกัน
    • นำระบบไปใช้งาน
    • บำรุงรักษาระบบ
Waterfall model ข้อดี ข้อเสีย
ขั้นตอนการทำงานของ Incremental Model

 ข้อเสีย 

  • มีความเสี่ยงสูง เนื่องจากมีการนำระบบย่อยมาประกอบรวมกัน
  • ระบบงานย่อยที่ใช้งานอยู่อาจจะทำให้การทำงานสะดุด

โมเดลแบบก้าวหน้า เป็นโมเดลที่มีการวิวัฒนาการมาจากโมเดลน้ำตก (Waterfall Model) เนื่องจากโมเดลน้ำตกมีข้อเสียคือ ต้องดำเนินตามขั้นตอนให้เสร็จสิ้นก่อนจึงจะดำเนินการขั้นตอนต่อไป ซึ่งหากเป็นโครงการโหญ่อาจต้องใช้เวลามากทำให้เสียเวลาย้อนกลับ และมีความเสี่ยงสูง

ช่องทางการศึกษาเพิ่มเติมข่าวสารที่น่าสนใจเกี่ยวกับ : บทความทั่วไป

  • บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป (114)  
  • ถาม - ตอบปัญหาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  (696)
  • บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป (84)  
  • บทความเกี่ยวกับ Google (210)
  • บทความเกี่ยวกับ Software License ใบอนุญาตซอฟต์แวร์ (9)

การพัฒนาระบบด้วย Waterfall Model

Waterfall Model คือ โมเดลที่มีขั้นตอนการดำเนินงานที่ชัดเจนและง่ายต่อการนำไปใช้จริง โดยใช้วงจรชีวิตแบบฉบับ (Class Lift Cycle) หมายถึง การเรียงลำดับงานในการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยเริ่มด้วยการกำหนดความต้องการของลูกค้า การวางแผน การสร้างแบบจำลองการพัฒนาซอฟต์แวร์ และการให้ความเหลือในการใช้งานซอฟต์แวร์

Waterfall model ข้อดี ข้อเสีย
การพัฒนาระบบโดยใช้ Waterfall Model

ข้อจำกัดของ Waterfall Model ได้แก่

  • แบบจำลอง Waterfall Model ไม่รองรับการทำงานซ้ำ
  • ในการพัฒนาระบบตามแบบจำลอง Waterfall จะต้องระบุความต้องการใช้งานให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ
  • ลูกค้าจะเห็นภาพหรือสามารถมองเห็นระบบที่สามารถใช้งานได้จริงตามแบบจำลองนี้ในช่วงปลายทางการพัฒนาระบบหากมีการเปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้พัฒนา หรือหากพบความผิดพลาดในการทำงานของระบบเมื่อทำการทดสอบระบบ ย่อมทำให้เกิดความยุ่งยากในการแก้ไข

กล่าวโดยสรุป Waterfall Model เป็นโมเดลที่มีขั้นตอนการดำเนินการที่ชัดเจนและง่ายต่อการนำไปใช้จริง และในการพัฒนาต้องระบุความต้องการใช้งานให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ หากมีการเเก้ไขหรือมีการเปลี่ยนแปลงความต้องการหรือ หากพบความผิดพลาดในการทำงานของระบบเมื่อทำการทดสอบระบบ อาจจะทำให้เกิดความยุ่งยากในการแก้ไข

ช่องทางการศึกษาเพิ่มเติมข่าวสารที่น่าสนใจเกี่ยวกับ : บทความทั่วไป

  • บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป (114)  
  • ถาม - ตอบปัญหาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  (696)
  • บทความเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป (84)  
  • บทความเกี่ยวกับ Google (210)
  • บทความเกี่ยวกับ Software License ใบอนุญาตซอฟต์แวร์ (9)

Waterfall model ข้อดี ข้อเสีย

Waterfall Model

เป็นแบบจำลองกระบวนการพัฒนาระบบในรูปแบบน้ำตก เป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันในอดีต มีหลักการเสมือนกับน้ำตกซึ่งไหลจากที่สูงลงที่ต่ำ ในแต่ละขั้นตอนไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไขขั้นตอนที่แล้วได้ เหมาะสำหรับระบบที่มีการจัดการที่แน่นอน และในปัจจุบันมีขั้นตอนการทำงานสามารถที่จะวนหรือย้อนกลับไปแก้ไขได้ หรือที่เรียกว่า Adapted Waterfall

เปรียบเทียบรูปแบบการทำงานของ Waterfall และ Adapted Waterfall

Waterfall model ข้อดี ข้อเสีย

รูปแบบกระบวนการทำงานแบบ Waterfall

Waterfall model ข้อดี ข้อเสีย

รูปแบบกระบวนการทำงานแบบ Adapted Waterfall

ขั้นตอนการทำงานของ Waterfall

ขั้นตอนการทำงาน อาจจะมี 5-6 ขั้นตอน สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามขอบเขตของการทำงาน โดยมีตัวอย่างขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เป็นขั้นตอนของการวางแผนการทำงาน

  • ระบุหัวข้อในการทำงาน หรือความต้องการของผู้ใช้
  • ระบุผู้ที่รับผิดชอบงาน
  • ระบุระยะเวลาในการดำเนินงาน

ขั้นตอนที่ 2 เป็นขั้นตอนของการออกแบบงาน

  • ทำการออกแบบในส่วนที่ได้รับมอบหมาย

ขั้นตอนที่ 3 เป็นขั้นตอนการพัฒนาระบบ

  • นำงานที่เราออกแบบไว้ในแต่ละส่วน มาทำเป็นตัวชิ้นงาน
  • เชื่อมต่องานในแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน

ขั้นตอนที่ 4 เป็นขั้นตอนการทดสอบระบบ

  • นำงานที่เราพัฒนาแล้วมาทดสอบ
  • บันทึกการทดสอบในแต่ละครั้ง
  • ตรวจสอบความผิดพลาด

ขั้นตอนที่ 5 เป็นขั้นตอนการนำไปใช้

  • ส่งมอบให้กับผู้ใช้

ข้อดีของ Waterfall Model

-คือมีการสร้างเอกสารในทุกๆ ขั้นตอนหรือทุกระยะ

-ดำเนินงานที่ละขั้นตอน สามารถตรวจสอบได้ง่าย

-ขอบเขตงานชัดเจน

-เหมาะกับระบบขนาดเล็ก ไม่ซับซ้อน

ข้อเสียของ Waterfall Model

-ผู้ใช้ได้เห็นระบบเมื่อผ่านขั้นตอนการพัฒนาไปแล้ว ทำให้กลับมาแก้ไขได้ยาก

– ไม่สามารถรองรับความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้

-ต้องมีการวางแผนที่ดี

***เนื่องจากการทำงานแบบ Waterfall เมื่อมีข้อผิดพลาดในส่วนใดส่วนหนึ่ง จะไม่สามารถกลับไปแก้ไขได้  เราสามารถนำวีธีการ Adapted Waterfall มาประยุกต์ใช้เพื่อให้ระบบของเราสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสร็จสมบูรณ์

ศึกษาความแตกต่างของการใช้ Waterfall Model กับ Agile Model

Waterfall model ข้อดี ข้อเสีย