ผลิตภัณฑ์สีเขียว มีอะไรบ้าง

บริษัท โตโยต้า กำลังมีแผนจะสร้างเมืองอัจฉริยะ “Woven City” ใกล้ๆภูเขาไฟฟูจิ ซึ่งจะเริ่มสร้างในปี 2021 เป็นเมืองที่ใช้เฉพาะพลังงานสะอาด อย่างพลังงานจากเซลล์ไฮโดรเจน โดยเมืองนี้ถูกออกแบบให้เป็นเหมือนห้องทดลองขนาดใหญ่ที่มีชีวิตจริง ในการทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรม ต่างๆในชีวิตจริง เช่น บ้านอัจฉริยะ (Smart Home) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) และหุ่นยนต์อัตโนมัติต่างๆ เป็นต้น

ภายในเมืองนี้จะออกแบบให้เส้นทางคมนาคมของรถยนต์ จักรยานและสกูตเตอร์ และคนเดินเท้า แยกออกจากกันทั้งหมด บ้านเรือนและอาคารมีโซลาร์เซลล์ติดบนหลังคาเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้า และมีการติดเซนเซอร์ เพื่อติดตามและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของผู้คนในเมือง นอกจากนี้ยานพาหยะยังต้องไม่มีการปล่อยแก๊สพิษต่างๆจากการเผาไหม้อีกด้วย (Zero-Emission Vehicles)

4. Plantable Paper กระดาษปลูกได้

     จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงพัฒนาแนวคิดมาจากการจัดการขยะ ซึ่งเป็นการทบทวนปัจจัยที่เกี่ยวข้องการทำน้ำหมักชีวภาพในกิจกรรมการจัดการความรู้เรื่องการจัดการขยะด้วย วิธีการ 3R และแนวคิดการเพิ่มพื้นที่ สีเขียว การจัดการน้ำเสียอย่างเหมาะสมด้วยผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการเพาะหัวเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไว้สำหรับใช้ประโยชน์เป็นปุ๋ยเพิ่มไนโตเจนให้กับต้นไม้รอบอาคาร ช่วยการย่อยธาตุอาหารและวัตถุอินทรีย์ในดิน และป้องกันการเกิดโรคในพืช ใช้ดับกลิ่นท่อระบายน้ำรอบอาคาร ซักโครกในห้องน้ำ ช่วยให้ศูนย์บรรณสารฯ มีภูมิทัศน์ร่มรื่น สวยงาม และการบำบัดน้ำเสียได้อย่างเหมาะสม

              กลยุทธ์เกี่ยวกับธุรกิจสมัยใหม่ (strategic implications for modern business) การนำปรัชญาด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน มาใช้ปฏิบัติทางการตลาดต้องการธุรกิจที่ให้ความสำคัญกับการใช้ทรัพยากรทั้งหมดอย่างมีประสิทธิภาพตลอดช่วงเวลาระยะยาว การสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติจะมีผลกระทบระบบการผลิตของบริษัท และกระบวนการผลิตโดยรวมของบริษัท การเปลี่ยนทิศทางจากระยะสั้นถึงระยะยาวของบริษัทจะเป็นการเปลี่ยนโครงสร้างที่ต้องการเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร เปลี่ยนระบบการสื่อสารภาพลักษณ์และระบบข่าวสารของบริษัท ข้อแนะนำคือ การมองเห็นว่าขยะเป็นต้นทุนขององค์กร ดังนั้นการลดปริมาณขยะ การนำวัสดุกลับมา  ใช้ซ้ำและการแปรรูปขยะนำกลับมาใช้ใหม่เป็นการประหยัดต้นทุนที่สำคัญในระยะยาว บริษัทที่มีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมเริ่มประสบความสำเร็จและผลกำไรจากการใช้แนวทางการค้าเชิงนิเวศน์  กิจกรรมที่ปฏิบัติกันได้แก่ 1) สร้างความต้องการของผู้บริโภคในผลิตภัณฑ์สีเขียว 2) เพิ่มค่าใช้จ่ายในการให้ความรู้แก่ผู้บริโภค เช่น การแจกเอกสาร “The Good Environment Guide” หรือ “คู่มือสภาพแวดล้อมที่ดี” 3) สร้างหรือจัดหาสถานที่สำหรับให้สะดวกแก่การแปรรูปนำกลับมาใช้ใหม่และป้องกันภาวะแวดล้อมเป็นพิษและการปรับภาพลักษณ์ให้เป็นบริษัทสีเขียวนำมาซึ่งความสำเร็จของบริษัท ภาพลักษณ์สีเขียวทำให้บริษัทเป็นที่ยอมรับ ส่งผลให้เพิ่มการขาย เพิ่มมูลค่าหุ้น และสามารถเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ได้

                    (1) ความต้องการควบคุมทางด้านกฎหมายและมาตรฐานการผลิต เช่น คำสั่ง WEEE (Waste electrical and electronic equipment) คำสั่ง RoHS (restric of use of certain hazardous substances in electrical and electronic equipment)   คำสั่ง EuP (estrablishing a framework for the setting of eco-design requirements for energy using products)

สนค.ชี้ทั่วโลกให้ความสำคัญกับ ผลิตภัณฑ์สีเขียว รับกระแสปกป้องสิ่งแวดล้อม-ลดขยะพลาสติก แนะผู้ผลิตเดินหน้า เพิ่มโอกาสในการค้าขาย ชี้เป้าผลิตภัณฑ์ย่อยสลาย ใช้ซ้ำได้ พร้อมจัดสัมมนาชี้โอกาสให้กับผู้ประกอบการ 2-3 ก.ย.นี้

นายภูสิต รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) เปิดเผยว่า สนค. ได้ติดตามทิศทางการผลิตและความต้องการสินค้าของตลาดโลก พบว่าขณะนี้ตลาดโลกมีความต้องการ ผลิตภัณฑ์สีเขียว หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Product) เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะผู้คนเริ่มเห็นผลกระทบ จากจำนวนประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น ซึ่งทำให้การบริโภคทรัพยากรต่าง ๆ เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย และส่งผลต่อเนื่องให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะขยะพลาสติกที่ย่อยสลายยากและทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมด้านอื่น ๆ ตามมา เช่น ปัญหาภาวะโลกร้อนจากการเผาขยะ ปัญหาสารพิษปนเปื้อนในน้ำและดิน เป็นต้น

ผลิตภัณฑ์สีเขียว มีอะไรบ้าง

         
 จากปัญหาดังกล่าว ทำให้ผลิตภัณฑ์สีเขียว ที่ผลิตภายใต้หลักการ 4R ได้แก่ Reduce (การลดปริมาณของเสีย) Reuse (การใช้ซ้ำ) Recycle (การนำกลับมาใช้ใหม่) และ Repair (การซ่อมแซม) กลายมาเป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยตอบโจทย์และแก้ปัญหาข้างต้นได้ เพราะไม่เพียงเป็นสินค้าที่ผลิตจากวัสดุที่ย่อยสลายได้เท่านั้น แต่ยังต้องเกิดจากกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือไม่ก่อให้เกิดมลภาวะด้วย

 สำหรับผลิตภัณฑ์สีเขียว ที่กำลังเป็นที่ต้องการ ได้แก่ 1.ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากวัสดุธรรมชาติหรือวัสดุที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ เช่น บรรจุภัณฑ์ใส่อาหารรักษ์โลกที่ผลิตจากเยื่อพืชธรรมชาติ เช่น ชานอ้อย ซึ่งสามารถย่อยสลายได้ โดยไม่ทิ้งมลพิษหรือสารเคมี รวมถึงถุงที่ผลิตจากมันสำปะหลังที่ใช้แทนถุงพลาสติกได้เป็นอย่างดี

2.ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ซ้ำได้ เช่น ถุงผ้า กระบอกน้ำ แก้วน้ำแบบพกพา และกล่องข้าว ซึ่งตอบโจทย์ด้านการลดใช้พลาสติก รวมไปถึงกล่องโฟม เพราะเป็นผลิตภัณฑ์รักษ์โลกที่สามารถนำมาใช้ซ้ำได้และมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน และ 3.รูปแบบอื่นๆ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าประหยัดพลังงาน รถยนต์พลังงานแสงอาทิตย์ รถยนต์ประหยัดพลังงาน (Eco Car) รถยนต์ Hybrid อาคาร บ้าน ที่พักอาศัย ที่ออกแบบมาเพื่อประหยัดพลังงาน เช่น ออกแบบให้อากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อลดการใช้เครื่องปรับอากาศ หรือออกแบบให้รับแสงธรรมชาติได้เต็มที่ เพื่อประหยัดไฟ เป็นต้น

นอกจากการผลิตผลิตภัณฑ์สีเขียวเพื่อช่วยลดขยะและแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังมีแนวโน้มใหม่ ผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตสินค้ายังควรให้ความสำคัญกับประเด็นความโปร่งใสในการผลิต และการลงทุนในงานวิจัยเพิ่มเติมเพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์ของตนมีความยั่งยืนมากขึ้น ในขณะที่ยังสามารถทำให้ผู้บริโภคได้รับความสะดวกสบายในการบริโภคและอุปโภคสินค้าได้เหมือนเดิม

ใช้บรรจุภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กลง เพื่อช่วยลดต้นทุน ลดปริมาณขยะ ลดการบริโภคเกินความจำเป็น รวมทั้งประหยัดพื้นที่จัดเก็บและขนส่ง และใช้บรรจุภัณฑ์ปลอดภัยต่อสินค้า เพื่อรักษาความปลอดภัยในการขนส่ง โดยใช้วัสดุที่มีความสามารถในการควบคุมคุณสมบัติของวัสดุนั้น ๆ ไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือเสื่อมสภาพไป