Master Chart คือแผนภูมิชนิดใด

แผนภูมิองค์กร หรือ Organization Charts เป็นภาพแสดงโครงสร้างของบริษัทหรือหน่วยงาน ช่วยให้เข้าใจถึงโครงสร้างของลำดับชั้นในองค์กร ตั้งแต่ระดับบน เช่น ผู้บริหาร (Top-level management) ไปจนถึงระดับล่างหรือพนักงาน (Bottom-level) แผนภาพนี้ช่วยให้เข้าใจว่าคุณกำลังอยู่ในลำดับชั้นของบริษัทหรือมีความสัมพันธ์กับคนอื่นๆ อย่างไร

ตัวอย่างเช่น
หากคุณเป็นพนักงานใหม่แผนภูมิองค์กรจะช่วยให้คุณเห็นตำแหน่งภายในองค์การ และทราบว่าหน่วยหน่วยงานหรือหัวหน้าโดยตรงของคุณคือใคร และหัวหน้าที่อยู่เหนือกว่าคือใคร หรือช่วยให้คุณเข้าใจว่าทีมงานหรือแผนกของคุณเกี่ยวข้องเกี่ยวข้องกับแผนกอื่นๆ อย่างไร

การทำแผนภูมิองค์กรยังทำให้เห็นว่าภายในบริษัทมีการกำหนดบทบาทของทุกคนภายในอย่างไร ช่วยให้บริษัทมั่นใจได้ว่าไม่มีหน่วยงานใดที่มีความรับผิดชอบที่ทับซ้อนกัน มีตำแหน่งสายงานบังคับบัญชาที่แน่นอน

ประเภทของแผนภูมิองค์กร

แผนภูมิองค์กร แบบที่นิยมใช้งานแบ่งออก 2 ประเภทคือ

1. แผนภูมิองค์กรแนวดิ่ง (Vertical Chart)

แผนภูมินแนวดิ่ง หรือ สานงานแบบปิรามิด (Conventional Chart) เป็นแผนภูมิที่กำหนดตำแหน่งหรือหน่วยงานสูงสุดไว้บนสุดแล้วค่อยๆ ลดหลั่งลำดับชั้นลงมา

  • Master Chart คือแผนภูมิชนิดใด

2. แผนภูมิองค์กรแนวนอน (Horizontal Chart)

แผนภูมิแนวนอน หรือ แผนภูมิแบบซ้ายไปขวา (Left to right chart) เป็นแผนภูมิที่กำหนดตำแหน่งหรือหน่วยงานสูงสุดไว้ทางซ้ายมือ และค่อยๆ ลดหลั่งลำดับชั้นไปทางขวามือตามลำดับ

  • Master Chart คือแผนภูมิชนิดใด

สรุป

แผนภูมิองค์กรมีประโยชน์สำหรับการทำความรู้จักโครงสร้างของบริษัทหรือหน่วยงาน เริ่มต้นทำแผนภูมิองค์กรง่ายๆ ด้วยเทมเพลตแผนภูมิองค์กรที่ PowerPointhub.com แบ่งปันให้กับทุกคนได้ใช้

กดปุ่มแชร์ด้านล่างนี้เพื่อโหลดทั้งหมด 46 ไฟล์ 12 โฟลเดอร์

[indeed-social-locker sm_list=’fb,tw,pt’ sm_template=’ism_template_1′ sm_list_align=’horizontal’ sm_display_full_name=’true’ unlock_type=2 locker_template=2 sm_d_text=’

เป็นคำนิยามของการรวมตัวกันอย่างเป็นระบบ หรือบางที่ให้คำจำกัดความว่า เป็นการจัดการที่มีการร่วมมือและประสานงานกัน 
ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปเพื่อให้ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างที่ตั้งไว้ โดยมีการใช้อำนาจการบริหารที่ชัดเจนมีการแบ่งงานและหน้าที่ มีลำดับขั้น
ของการบังคับบัญชาและความรับผิดชอบ การจะทำความเข้าใจคำว่าองค์การนั้น ถ้าดูที่การแบ่งประเภทขององค์การจะทำให้เข้าใจดีขึ้น เช่น

   👉  องค์การทางสังคม ครอบครัว สถาบันการศึกษาทุกระดับ โรงเรียน มหาวิทยาลัย  สถาบันศาสนา วัด ศูนย์ปฏิบัติธรรม สถาบัน กลุ่ม ชมรม มูลนิธิ ฯลฯ ที่ตั้งขึ้นเพื่อกิจการเฉพาะอย่างแต่มุ่งประโยชน์ในระดับสังคม

   👉 องค์การทางราชการ ทุกระบบที่เป็นส่วนราชการ ระดับกระทรวง ทบวง กรม

   👉  องค์การเอกชน เช่น บริษัทห้างร้านที่ตั้งขึ้นมาด้วยรูปแบบต่างๆ เพื่อ
   มุ่งหากำไรเป็นสำคัญ ลักษณะขององค์การทางธุรกิจนั้น แบ่งได้เป็น

Master Chart คือแผนภูมิชนิดใด


     💓แบบตามแนวนอน (Horizontal Chart) หรือแบบซ้ายไปขวา (Left to Right Chart) แบบนี้ เป็นลักษณะการเขียนแผนภูมิที่แสดงตำแหน่งสูงสุด

ไว้ทางซ้ายมือ และหน่วยงานระดับรอง ๆ เลื่อนออกไปทางขวามือตามลำดับ 

                                      

Master Chart คือแผนภูมิชนิดใด
                      💓แบบวงกลม (Circular Chart) ลักษณะของแผนภูมิชนิดนี้แสดงเป็นวงกลมโดยกำหนดตำแหน่งสูงสุดอยู่ตรงกลาง และตำแหน่งรอง ๆ อยู่ในรัศมี

ที่ห่างออกๆปตามลำดับ

               

Master Chart คือแผนภูมิชนิดใด

แผนภูมิเสริม (Supplementary Chart) แผนภูมิเสริม คือแผนภูมิที่แสดงถึง
รายละเอียดของหน่วยงานย่อย ๆ ที่แยกจากแผนภูมิหลัก โดยแยกเป็นหน่วยงานย่อยว่ามีลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร หรือแสดงของเขตความสัมพันธ์
ของงานในหน่วยหนึ่ง ๆ ซึ่งอาจจะเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร หรือแสดงขอบเขตความสัมพันธ์ของงานในหน่วยหนึ่ง ๆ ซึ่งอาจจะเป็น
ภายในแผนกเดียวกัน หรือเกี่ยวโยงไปยังแผนกอื่น ๆ

แผนภูมิเสริมนี้ แบ่งออกเป็น ได้หลายลักษณะ หรือหลายแบบ เช่น
        💥แผนภูมิแสดงทางเดินของสายงาน (Work Flow Chart) หมายถึงแผนภูมิที่แสดงสายการปฏิบัติทางเดินของงาน
        💥แผนภูมิการจัดรูปแบบสถานที่ (The Layout Chart) เป็นแผนภูมิ

ที่แสดงการจัดสถานที่ทำงาน ซึ่งหมายถึงการจัดสถานที่ตำแหน่งของงาน 
การจัดห้องที่ทำงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปโดยสะดวก และเรียบร้อย รวดเร็ว
        💥แผนภูมิชื่อบุคคล (Roster Chart) เป็นแผนภูมิที่แสดงชื่อบุคคล

ที่ดำรงตำแหน่งทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการติดต่อประสานงานและให้บริการ
ขั้นตอนและข้อเสนอแนะนำในการเขียนแผนภูมิ

          💗รวบรวมหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่กำหนดไว้ในการแบ่งงาน
          💗จัดประเภทของงาน งานที่คล้ายกันให้อยู่แผนกและฝ่ายเดียวกัน
          💗กำหนดตำแหน่งงานโดยคำนึงถึงอำนาจหน้าที่และ
ความรับผิดชอบ และความสำคัญของาน
          💗กำหนดชนิดของแผนภูมิ
          💗เขียนชื่อเรื่องของแผนภูมิ อันประกอบด้วย
               😆 ชื่อของหน่วยงานหรือชื่อองค์การนั้น ๆ
               😆 ชื่อของแผนภูมิตามกิจกรรม เช่น 
"แผนภูมิแสดง แบ่งส่วน ราชการ" "แผนภูมิสายทางเดินของงาน" ฯลฯ
               😆 ใช้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แทนหน่วยงาน หรือตำแหน่ง หรือบุคคล และควรมีขนาดเท่ากันโดยกำหนดตำแหน่งสูงสุดให้รูปใหญ่กว่า
ตำแหน่งรอง ๆ ลงไป
               😆 จัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าให้ตำแหน่งสูงต่ำลดหลั่น
ตามสายงานการบังคับบัญชา หน่วยงานใดที่มีความสำคัญมีอำนาจหน้าที่เท่ากัน 
ก็ให้อยู่ในระดับเดียวกัน
               😆 ลากเส้นสายการบังคับบัญชาผ่านรูปสี่เหลี่ยม ใช้เส้นตรงตามขวางและตามยาวขีดเชื่อมโยงแทนสายการบังคับบัญชา และไม่ควรลากผ่านทะลุรูปสี่เหลี่ยมแทนที่หน่วยงานหรือบุคคลเป็นอันขาด

Organization Chart แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ประเภทของแผนภูมิองค์กร.
1. แผนภูมิองค์กรแนวดิ่ง (Vertical Chart) แผนภูมินแนวดิ่ง หรือ สานงานแบบปิรามิด (Conventional Chart) เป็นแผนภูมิที่กำหนดตำแหน่งหรือหน่วยงานสูงสุดไว้บนสุดแล้วค่อยๆ ลดหลั่งลำดับชั้นลงมา.
2. แผนภูมิองค์กรแนวนอน (Horizontal Chart).

การจัดทำแผนภูมิหรือโครงสร้างองค์การคืออะไร

ผังโครงสร้างองค์การ หมายถึง แผนผังที่แสดงถึงกลุ่มตาแหน่งงาน ซึ่งรวมกลุ่มเป็นสายการบังคับบัญชา โดยมี การแบ่งกลุ่มแบ่งระดับ โครงสร้างองค์การที่มีการจัดขึ้นอย่างถูกต้อง โดยมีการจัดตาแหน่งชัดเจน มีสายการบังคับ บัญชาที่แน่นอน และมีชื่อตาแหน่งระบุไว้ก็จะช่วยให้ได้ข้อมูลการจัดการที่เป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น กล่าวอีกนัยหนึ่ง ผัง ...

ผังองค์กรมีอะไรบ้าง

1. โครงสร้างองค์กรแบบลำดับขั้น (Hierarchical Structure) ... .
2. โครงสร้างองค์กรตามหน้าที่ (Functional Structure) ... .
3. โครงสร้างองค์กรแนวนอนหรือแบน (Horizontal / Flat Structure) ... .
4. โครงสร้างองค์กรตามหน่วยงาน (Divisional Structure) ... .
5. โครงสร้างองค์กรแบบแมททริกซ์ (Matrix Structure).

แผนภูมิองค์กรแสดงให้เห็นถึงอะไร

แผนภูมิองค์กรแบบธุรกิจระบุถึงโครงสร้างของบริษัทของคุณ โดยแสดงโครงสร้างการบริหาร ความสัมพันธ์ระหว่างแผนกต่าง ๆ และลักษณะการทำงานของหน้าที่ต่าง ๆ ในองค์กรภายในธุรกิจของคุณ แผนภูมิองค์กรแบบธุรกิจมักใช้สำหรับบริษัทต่าง ๆ ที่ต้องการจัดโครงสร้างธุรกิจใหม่ หรือทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างเดิมที่มีอยู่ นอกจากนี้ ยังมี ...