สภาพชุมชนที่ จัดตั้ง สถานศึกษา ควรเป็นอย่างไร

E-mail :: อีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปก่อน :::: Webmaster::::  [email protected]   ::: อีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปก่อน

         ��Ҿ������ʵ�� �繷���Һ �����㹡�û�Сͺ�Ҫվ�ɵá��� �վ�鹷��ҧ��ǹ����繷�������㹡�÷ӹ� ��м���� �� �ǹ�л�ҧ ��§�Դ ����§��� �繾�鹷���Һ������������㹡�÷ӹ� ������¹�ӽ� ��й�ӪŻ�зҹ �ӹһ� 2 ���� �ѡ���¹����ҳ 30 % �ջѭ�ҷҧ��ҹ��ͺ������������������Ѻ��������� �ѡ���¹��ҧ���������Ѻ �� ��� ���� �ҵԾ���ͧ �֧�����Ҵ��ô����������㹴�ҹ������¹ ����觡�����ç���¹ �Ҵ����ͺ��� �ջѭ�Ҥ�����оĵ� ��âҴ���¹ ���ç���¹���֧�ç���¹����ռŵ�͡�����¹�������

      บ้านกิ่วลมเป็นชุมชนขนาดเล็ก ระบบเศรษฐกิจค่อนข้างยากจน เพราะมีผลผลิตทางการเกษตรการปลูกพืชผักสวนครัวเพียงอย่างเดียวประชากรวัยหนุ่มสาวต้องไปทำงานท้องถิ่นอื่นในตัวเมืองเป็นส่วนใหญ่ นักเรียนจะอยู่อาศัยกับญาติผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้สูงอายุ เป็นอุปสรรคต่อการช่วยการเรียนรู้ผู้เรียนได้เต็มที่ และมีแนวโน้มว่าจะมีประชากรวัยศึกษาระดับปฐมวัยและระดับพื้นฐานการศึกษาน้อยลงเรื่อยๆนับเป็นปัญหาในการส่งเสริมการเรียนรู้ระดับพื้นฐานการศึกษา

  • สภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียน โรงเรียนตั้งอยู่ในเขตชุมชนบ้านท่าวังหินด้านหน้าและด้านข้างทิศตะวันออกของโรงเรียนมีบ้านเรือน ราษฎรอยู่หนาแน่น ประกอบด้วยร้านต่าง ๆ ตลอดแนวถนน
  • สภาพแวดล้อมทั่วไป มีความร่มรื่นและสวยงามด้วยสวนหย่อม ไม้ดอกไม้ประดับ และไม้ยืนต้นชนิดต่างๆ จัดม้าหินอ่อนให้เป็นที่นั่งอ่านหนังสือ/ทำงานของนักเรียน ตามบริเวณร่มไม้และทางเดิน ตามอาคารต่าง ๆ มีลานใต้ร่มไม้ที่ให้ร่มเงาและมีบรรยากาศที่ดี ทำให้นักเรียนมักใช้เป็นที่นั่งอ่านหนังสือและพักผ่อนอยู่เป็นประจำ
  • สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนเมืองมีประชากรอยู่หนาแน่นร้านค้าทุกประเภทอยู่ตลอดสายถนน โดยเฉพาะโรงเรียนกวดวิชา มีปัญหาการจราจรติดขัดในช่วงเวลาเร่งด่วน มีประชากรในเขตเทศบาลนครอุบราชธานี ประมาณ 80,000 คน หน่วยงานและสถานที่ราชการ ที่อยู่ใกล้โรงเรียน ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองอุบลราชธานี แขวงการทางอุบลราชธานี โรงเรียนเทศบาลนครอุบล1 (สามัคคีวิทยาคาร) วัดท่าวังหิน อาชีพหลักของชุมชนคือ ค้าขายและรับจ้าง ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ประเพณีแห่งเทียนพรรษา พิธีบวงสรวงพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าเมืองอุบลราชธานี คนแรก) ประเพณีลอยกระทง
  • ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพรับราชการและค้าขาย นับถือศาสนาพุทธ
  • โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน อยู่ใกล้กับแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจังหวัด วัดท่าวังหิน และแหล่งเรียนรู้อื่นๆ จึงสะดวกต่อการพานักเรียนไปปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ โรงเรียนได้จัดกิจกรรมทำนุบำรุงศาสนาและกิจกรรมเสริมหลักสูตรอื่นๆ อย่างต่อเนื่องตลอดปี อย่างไรก็ตาม บริเวณรอบๆ โรงเรียนยังเป็นชุมชนแออัดที่ทำให้เกิดความเสี่ยงทางด้านยาเสพติด การพนันและการมั่วสุมในร้านเกม

โรงเรียนพระยามนธาตุราชศรีพิจิตร์ ตั้งอยู่ในชุมชนขนาดใหญ่ เป็นชุมชนชานเมืองที่มีความเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว เกิดแหล่งธุรกิจและโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่างๆเป็นจำนวนมาก ประชาชนส่วนใหญ่อพยพโยกย้ายมาจากถิ่นฐานเดิม เข้ามาประกอบอาชีพรับจ้างทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม ค้าขาย รับราชการ และเข้ามาอยู่อาศัยในหมู่บ้านจัดสรร ทำให้จำนวนประชากรในท้องถิ่นเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีปริมาณหนาแน่นยิ่งขึ้นในทุกๆปี จำนวนเด็กที่เกิดหรือติดตามพ่อแม่จึงมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นด้วย ความต้องการที่จะเข้าโรงเรียนของเด็กในชุมชนมีอัตราสูงขึ้นทุกปี ทำให้เกิดปัญหาในชุมชนคือ สถานศึกษาไม่สามารถรับเด็กบางส่วนได้ ต้องไปเรียนในสถานศึกษาที่อยู่ไกลบ้าน เดินทางไม่สะดวกปลอดภัยและเสียค่าใช้จ่ายสูง ด้วยเหตุนี้ชุมชนจึงมีความต้องการให้เด็กทุกคนได้เข้าเรียนในสถานศึกษาที่อยู่ใกล้บ้าน จึงขอให้ทางโรงเรียนขยายชั้นเรียนระดับต่างๆเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะชั้นอนุบาล 1-2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เพื่อเป็นการบริการประชาชนในด้านการศึกษา ให้เพียงพอกับความต้องการของชุมชน ปีการศึกษา 2562 ทางโรงเรียนได้เพิ่มห้องเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 รับนักเรียนจำนวน 10 ห้อง ทั้งนี้ทั้งนั้นทางโรงเรียนก็ยังไม่สามารถตอบสนองได้ตามความต้องการของชุมชน เนื่องจากไม่สามารถเพิ่มจำนวนอาคารเรียนตามจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นได้ เพราะพื้นที่ของโรงเรียนมีจำกัด
          โรงเรียนมีจุดอ่อนที่เป็นประเด็นสำคัญ คือ โรงเรียนมีห้องเรียนและโสตทัศนูปกรณ์ไม่เพียงพอ และมีครูเกษียณอายุราชการค่อนข้างมากในแต่ละปี  โดยการบรรจุแต่งตั้งครูทดแทนยังไม่เพียงพอ  ส่งผลให้อัตราส่วนของครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ไม่สมดุลกับหลักสูตรและรายวิชาที่จำเป็นต้องเปิดสอน  โรงเรียนจึงมีความจำเป็นต้องจ้างครูที่มีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ขาดแคลนเข้าทดแทน  เพื่อรักษาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียน  แต่เนื่องจากผู้ปกครองนักเรียนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีรายได้ปานกลางจึงค่อนข้างเป็นอุปสรรคในการระดมทรัพยากรจากชุมชนเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

                อยู่ไกลจากหมู่บ้านประมาณ 500 เมตร มีแหล่งเรียนรู้ในชุมชน คือ วัดจำนวน 2 แห่ง สถานีอนามัย จำนวน 1 แห่ง สถานประกอบการผลิตเตาซิ่งจำนวน 10 โรง หัตถกรรมทอเสื่อในครัวเรือนประมาณร้อยละ 20 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด โรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนระดับ ป.1-ป.6 จำนวน 1 โรง แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญอื่น ๆ อยู่ห่างไกลออกไป ได้รับการสนับสนุนจากชุมชนอย่างดียิ่งในด้านการระดมสรรพกำลังเพื่อการศึกษาและวิทยากรท้องถิ่น มีร้านค้ารายย่อยที่จำหน่ายสุรา บุหรี่จำนวน 1 แห่งที่ยังไม่ได้รับความร่วมมือกับทางโรงเรียนเท่าที่ควร มักลักลอบจำหน่ายสุราและบุหรี่ให้แก่นักเรียนอยู่ประจำ