ข้อใด ไม่ใช่ สิทธิ มนุษย ชน

7. ข้อใด จัดตั้งขึ้นตามสมัชชาที่ประชุมใหญ่สหประชาชาติเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2006 แทนที่ Human Rights Commission

1. คณะกรรมการสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม

2.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

3.ข้อร้องเรียนตามกระบวนการ 1503

4.คณะกรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อคน

ตอบ ข้อ 3.

8. ข้อใดไม่ใช่ กลไกคุ้มครองตามกฎหมายภายในประเทศ

1. กลไกที่จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

2. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

3. คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์

4. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

ตอบ ข้อ 3.

9. ข้อใด คือ กลไกการคุ้มครองสิทธิที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายอื่น

1. กลไกที่จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

2. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

3. คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์

4. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

ตอบ ข้อ 3.

10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตราใด ระบุว่าบุคคลย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองตามกระบวนการยุติธรรมได้โดยง่าย สะดวก รวดเร็ว และเข้าถึง

1. มาตรา 39

2. มาตรา 40

3. มาตรา 41

4. มาตรา 42

ตอบ ข้อ 2.

11. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการอำนวยความยุติธรรมประกอบด้วย ข้อใด

1. ทหาร ตำรวจ อัยการ ศาล

2. ประชาชน เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ ศาล ตำรวจ

3. ทนายความ นักจิตวิทยา  ศาล ตำรวจ

4. ตำรวจ ทหาร อัยการ ศาล

ตอบ ข้อ 3.

12. ผู้ตรวจการแผ่นดินอาจเสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองได้ เมื่อเห็นว่ามีกรณีในข้อใด 

1. บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ

2. กฎ คำสั่ง หรือการกระทำอื่นใดของบุคคล มีปัญหาเกี่ยวกับประชาชน

3. เห็นว่าการพิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริงตามคำร้องเรียนไม่เป็นธรรม

4. การปฏิบัติหรือละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ

ตอบ ข้อ 1.

13. การร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาต้องทำเป็นหนังสือดังนี้ ข้อใดไม่ใช่ 

1. ระบุชื่อและที่อยู่ของผู้ร้องเรียน

2. ระบุเหตุที่ทำให้ต้องร้องเรียน

3. ใช้ถ้อยคำตามที่เข้าใจ

4. ลงลายมือชื่อผู้ร้องเรียน

ตอบ ข้อ 3.

14. การร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภาสามารถโทรไปได้ที่เบอร์ใด 

1. 1660

2. 1676

3. 1543

4. 1221

ตอบ ข้อ 2.

15. ผู้เสียหายจากการกระทำอันเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ การกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริตต่อหน้าที่ตามกฎหมายอื่น หมายถึงข้อใด 

1. ผู้เสียหาย

2. ผู้ถูกล่าวหา

3. ผู้ทุจริต

4. ผู้ถูกใส่ความ

ตอบ ข้อ 1.

16. ผู้ซึ่งถูกกล่าวหาหรือมีพฤติการณ์ปรากฏแก่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติว่า ได้กระทำการอันเป็นมูลที่จะนำไปสู่การถอดถอนจากตำแหน่ง การดำเนินคดีอาญา การขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน หรือการดำเนินการทางวินัย ตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ และให้หมายความรวมถึงตัวการ ผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนในการกระทำดังกล่าวด้วย หมายถึง ข้อใด 

1. ผู้เสียหาย

2. ผู้ถูกล่าวหา

3. ผู้ทุจริต

4. ผู้ถูกใส่ความ

ตอบ ข้อ 2.

17. ข้อใดไม่ใช่ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.

1. ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ

2. ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริงของทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

3. ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งเลขาธิการ

4. ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้า หน้าที่เอกชน

ตอบ ข้อ 4.

18. กระบวนการร้องเรียนจะต้องทำหนังสือถึง " เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช." หรือ "ตู้ ปณ.ใด 

1. ตู้ ปณ. 99

2. ตู้ ปณ. 100

3. ตู้ ปณ. 101

4. ตู้ ปณ.102

ตอบ ข้อ 4.

19. ทรัพย์สินที่จะแสดงให้เห็นว่าร่ำรวยผิดปกติฯ มีอะไรบ้าง 

1. บ้าน

2. ที่ดิน

3. รถยนต์

4. ถูกทุกข้อ

ตอบ ข้อ 4.

20. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 252 - 254 และ พระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่า ด้วยคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ใด

สิทธิมนุษยชนไม่สามารถถูกพรากไปได้ แต่บางครั้งสิทธิมนุษยชนอาจถูกจำกัด เช่น ถ้าคุณทำผิดกฎหมาย หรือกระทำการที่อาจเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของชาติ ทั้งนี้ สิทธิมนุษยชนนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณค่าความเป็นมนุษย์ เช่น ความมีศักดิ์ศรี ความยุติธรรม ความเท่าเทียม ความเคารพ และความเป็นอิสระ นอกจากนี้สิทธิมนุษยชนนั้นไม่ได้เป็นเพียงแค่แนวคิดที่เป็นนามธรรมเท่านั้น เพราะสิทธิมนุษยชนคือแนวคิดที่ได้รับการนิยาม และได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย

 

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (The Universal Declaration of Human Rights)

ในปี 2491 หลังเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง องค์การสหประชาชาติได้กำหนดปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนขึ้นเพื่อเป็นกรอบในการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ทุกคน

 

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ได้แบ่งสิทธิและเสรีภาพออกเป็น 30 หมวด เช่น สิทธิในการแสวงหาที่ลี้ภัย สิทธิในการมีเสรีภาพจากการทรมาน สิทธิและเสรีภาพในการแสดงออก และสิทธิในการศึกษา

 

ไม่มีใครสามารถพรากสิทธิและเสรีภาพนี้ไปจากเราได้ เพราะสิทธิและเสรีภาพนี้เป็นของพวกเราทุกคน

 

นับตั้งแต่มีการกำหนดปฏิญญานี้ขึ้นเมื่อเจ็ดสิบปีที่แล้ว ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนได้ถูกใช้เป็นรากฐานของกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศทุกฉบับ

 

เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน

 

 

 

สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน

สิทธิมนุษยชนมีคุณลักษณะเฉพาะ ซึ่งได้รับการยอมรับโดยประชาคมโลก ดังนี้

 

มีความเป็นสากล: สิทธิมนุษยชนเป็นของมนุษย์ทุกคน

 

พรากไปไม่ได้: สิทธิมนุษยชนไม่สามารถถูกพรากไปจากเราได้

 

ไม่สามารถแบ่งแยกได้ เพราะสิทธิทุกสิทธิล้วนเกี่ยวข้องกัน: รัฐบาลไม่สามารถเลือกที่จะเคารพสิทธิใดสิทธิหนึ่งได้ สิทธิทุกสิทธิต้องได้รับการเคารพอย่างเท่าเทียมกัน

 

ทำไมคุณต้องสนใจสิทธิมนุษยชน?

สิทธิมนุษยชนไม่ได้เป็นเพียงแค่กฎหมาย แต่สิทธิมนุษยชนคือการตัดสินใจ และสิ่งที่เราประสบพบเจอในแต่ละวัน

 

ถ้าเรารู้สึกไม่ชอบใจในสิ่งที่รัฐบาลทำ ส่วนใหญ่แล้วพวกเราคงไม่รีรอที่จะเอาไปพูดกับเพื่อนไม่ว่าจะในอินเตอร์เน็ต หรือในร้านเหล้า การกระทำนี้อาจดูไม่มีความหมาย แต่มันคือสิทธิมนุษยชน คือ สิทธิและเสรีภาพในการแสดงออก

 

โดยส่วนใหญ่แล้วคนจะไม่ให้ความสำคัญมื่อมีการเคารพสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น เด็กๆ หลายคนไม่ยอมตื่นนอนไปโรงเรียนทั้งๆ ที่พวกเขาได้รับสิทธิในการศึกษา แต่เด็กๆ ที่ต้องอพยพออกจากประเทศตัวเอง และถูกปฏิเสธไม่ให้ได้รับการศึกษาคงมีความสุขที่ได้ไปโรงเรียนทุกวัน


สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

ประเทศไทยเป็นภาคีสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนแล้ว จำนวน 7 ฉบับ จากทั้งหมด 9 ฉบับ ทําให้ประเทศไทยมีพันธะผูกพันในการปฏิบัติตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และสนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี รวมไปถึงข้อตกลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการประชุมระดับโลก โดยองค์กรของรัฐที่มีหน้าที่หลักในการทำงานเพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย คือ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2560) ได้ระบุถึงการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนไว้หลายมาตราด้วยกัน เช่น ในมาตรา 4 นั้นระบุว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง" และ ในหมวดที่ 3 ซึ่งเป็นหมวดสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตราที่ 25 ถึง 49 ยังได้บรรยายขอบเขตของสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไว้ในหลายด้านด้วยกัน เช่น ความยุติธรรมทางอาญา การศึกษา การไม่เลือกปฏิบัติ เสรีภาพในการแสดงออก การไม่ก้าวก่ายชีวิตส่วนตัว และข้าวของเครื่องใช้ส่วนตัว เป็นต้น


นอกจากนี้ รัฐบาลยังได้จัดทำ แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งจัดทำฉบับแรกในปี 2551 ในขณะที่ฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 3 พ.ศ.2557-2561 โดยรัฐบาลได้จัดทำแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติขึ้นเพื่อให้ทุกภาคส่วนนําไปใช้ในการส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิของประชาชนในประเทศต่อไป

 

การต่อสู้กับการละเมิดสิทธิมนุษยชน

พวกเรามักละเลยความสำคัญของสิทธิมนุษยชน เพราะสิทธิมนุษยชนเป็นแนวคิดที่อยู่บนพื้นฐานของหลักการเรื่องความมีศักดิ์ศรี ความยุติธรรม ความเท่าเทียม ความเคารพ และความเป็นอิสระ หลายครั้งเราจะลุกขึ้นมาต่อสู้และให้ความสำคัญกับสิทธิมนุษยชนก็ต่อเมื่อสิทธิของเราถูกละเมิด

 

ในความเป็นจริง สิทธิมนุษยชนนั้นถูกละเมิดตลอดเวลา ยังมีคนนับพันทั่วโลกที่ไม่ได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม และถูกจำคุกเพียงเพราะความคิดหรือความเชื่อบางอย่างของพวกเขา อีกทั้ง พลเมืองยังตกเป็นเป้าโจมตีในสงคราม เด็กๆถูกบังคับให้ออกไปรบ การข่มขืนถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำร้ายคน นี่คือเหตุผลว่าทำไมเราจึงไม่ควรละเลยความสำคัญของสิทธิมนุษยชน และทำไมสิทธิมนุษยชนจึงควรถูกคุ้มครองตามกฎหมาย เพื่อที่เราจะได้เอาผิดและดำรงความยุติธรรมเมื่อรัฐหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งละเมิดสิทธิมนุษยชน