สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย

ภาวะพึ่งพาอาศัยคือ สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์แบบต่างฝ่ายต่างให้ประโยชน์ แต่สิ่งมีชีวิตต้องอาศัยอยู่ด้วยกันไม่สามารแยกกันอยู่ได้
โปรโตซัวอาศัยอยู่ในลำไส้ปลวก โดยโปรโตซัวจะสร้างน้ำย่อยมาข่วยย่อยคาร์โบไฮเดรตประเภทเซลลูโลส ทำให้ปลวกสามารถกินไม้ได้ โปรโตซัวได้อาหารและที่อยู่อาศัย
ซีแอนีโมนี (ดอกไม้ทะเล) มีเข็มพิษจึงช่วยป้องกันอันตรายให้กับปูเสฉวนจากผู้ล่า โดยดอกไม้ทะเลก็ได้แหล่งอาหารใหม่จากการเคลื่อนย้ายไปกับปูเสฉวน เป็นความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน สิ่งมีชีวิตทั้งสองสามารถแยกกันอยู่ได้
ผีเสื้อและดอกไม้เป็นความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน
พยาธิและคนเป็นความสัมพันธ์แบบปรสิต

2. �����ԧ����������������͡�� (Commensalisms) �繡�����������ѹ�ͧ����ժ��Ե�·�����˹�������ª�� ��ǹ�ա����˹����������ª�����������»���ª�� (+,0) ��

  • ��ҩ����Ѻ��ҩ��� ��ҩ����������������ǻ�ҩ��� ��СԹ�������èҡ��ҩ��� ��觻�ҩ�������������ª�� �袳����ǡѹ����������»���ª������
  • ��ٴ�ҧ�Ѻ������˭� ��ٴ�ҧ������������Ф�����鹨ҡ������µ����
    ������ª�� ������ǡ�������»���ª������
  • ��������Ѻ������˭� ���������ִ��з���ӵ����͡�觢ͧ����������Ѻ�������������ҵبҡ����� �·������������Ѻ����ª�� ���������»���ª������
  • ���§ ����������к����˹ѧ�ͧ�������������� �����������ª�� ���������»���ª��

3. ����˹�������ª������ա����˹�����»���ª�� ���ѭ�ѡɳ� + , -
������� 2 Ẻ ���

  1. ������������� (Predation) �繤�������ѹ�����ս���˹���繼����� (predator) ���
    �ա����˹���������� (prey) ����������âͧ�ա����˹�� �� �١Ѻ��
  2. ���л��Ե (Parasitesm) �繤�������ѹ��ͧ����ժ��Ե����ս���˹���繼����´��¹ ���¡��һ��Ե (parasite) ����ա����˹������Ңͧ��ҹ (host)
  • �鹡ҽҡ �� ��·ͧ��������躹������˭� �дٴ����������èҡ������˭�
  • ��Ѵ ��� �� ��ҸԵ�ҧ� ������������Ѻ��ҧ��¤�����ѵ��
  • �����ä��ҧ� ��������Դ�ä�Ѻ������ѵ��

�͡�ҡ����ѧ�դ�������ѹ��Ẻ�����ա���������� (Saprophytism) ���ѭ�ѡɳ� +,0
�繡�ô�ç�վ�ͧ��������������������Թ����� �� ��� �� Ấ������ ��Ш��Թ�����

��к������ �������������ҵص�ҧ� �ж١��ع���¹�ѹ���������ҷ��������� �����
��������ū�觡ѹ��Сѹ ǹ���¹�ѹ���ѯ�ѡ÷�����¡��� �ѯ�ѡâͧ���� (Matter Cycling) ������º����͹����Ӥѭ ���������§�����ҧ������о�ѧ�ҹ�ҡ�����ҵ��������ժ���Ե ���Ƕ��·ʹ��ѧ�ҹ��ٻẺ�ͧ��áԹ��͡ѹ�繷ʹ� ���ش�����ѯ�ѡè�����㹢�鹵͹�����ش �¼���������¡�Ѻ�׹�������ҵ� �ѯ�ѡâͧ���÷���դ����Ӥѭ�������Ţͧ�к������ ���� �ѯ�ѡâͧ��� �Ѯ�ѡâͧ���ਹ �ѯ�ѡâͧ����͹ ��� �ѯ�ѡâͧ��ʿ����

สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย
สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย

การอาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศต่างมีรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งช่วยให้เกิด ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต และเกิดการปรับตัวร่วมกัน

นอกเหนือไปจากความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน ทั้งที่อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงและดำรงชีวิตอยู่อย่างโดดเดี่ยวลำพัง ในระบบนิเวศยังมีการปฏิสัมพันธ์หรือความเกี่ยวข้องอีกหลากหลายรูปแบบเกิดขึ้น เมื่อมีสิ่งมีชีวิตหลายชนิดอาศัยอยู่ร่วมกันในพื้นที่ซึ่งมีอาณาบริเวณอันจำกัด มีปริมาณอาหาร น้ำดื่มและปัจจัยที่จำเป็นอีกมากมาย ซึ่งไม่สามารถรองรับและตอบสนองต่อความต้องการของทุกชีวิต 

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิด (Interspecific interactions) หมายถึง ความเกี่ยวข้องหรือสายสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจากการอาศัยอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดในระบบนิเวศ โดยก่อให้เกิดทั้งภาวะของการพึ่งพาอาศัยกันและกัน การแก่งแย่งแข่งขัน หรือแม้แต่การเบียดเบียนสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นเพื่อความอยู่รอด

ซึ่งความสัมพันธ์เหล่านี้ สามารถจำแนกออกเป็น 6 ประเภท โดยส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในลักษณะที่แตกต่างกันออกไป เช่น เป็นประโยชน์ต่อกัน (+) เป็นโทษหรือภัยคุกคาม (-) และการไม่ได้รับผลกระทบและผลประโยชน์ใด ๆ (0) ดังนี้

ภาวะพึ่งพาอาศัยกัน (Mutualism : +/+) หมายถึง ความสัมพันธ์ระยะยาวของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ โดยที่ทั้ง 2 ฝ่ายต่างได้รับผลประโยชน์จากความสัมพันธ์ในลักษณะนี้ ทำให้สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ชนิดไม่สามารถแยกตัวออกจากกันได้อีกเลยตลอดช่วงชีวิต เช่น 

  • ไลเคน (Lichens) : สิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการพึ่งพาอาศัยกันของราและสาหร่าย โดยที่ราทำหน้าที่ให้ความชุ่มชื้นและแร่ธาตุแก่สาหร่าย ขณะที่สาหร่ายทำหน้าที่สร้างอาหารให้ราผ่านกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย
สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย

  • ไรโซเบียม (Rhizobium) แบคทีเรียในรากพืชตระกูล หรือ ราไมคอร์ไรซา (Mycorrhizal Fungi) ที่อาศัยอยู่ตามรากพืชชั้นสูง : จุลินทรีย์เหล่านี้ ทำหน้าที่ตรึงแร่ธาตุและตระเตรียมธาตุอาหารให้อยู่ในรูปที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ขณะที่พืชเป็นทั้งแหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารที่สร้างสารอาหารให้จุลินทรีย์เหล่านี้

 

ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation : +/+) หมายถึง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันและได้รับผลประโยชน์จากความสัมพันธ์ทั้ง 2 ฝ่าย โดยที่สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ชนิดสามารถดำรงชีวิตอยู่ตามลำพังได้ หากเกิดการแยกตัวออกจากกัน เช่น

  • ผึ้งและดอกไม้ : ผึ้งกินน้ำหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร ขณะที่ดอกไม้ได้ผึ้งเหล่านี้ ช่วยผสมเกสรและแพร่ขยายพันธุ์

สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย
สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย

  • ปูเสฉวนและดอกไม้ทะเล : ดอกไม้ทะเลเกาะอยู่บนเปลือกปูเสฉวน เพื่อช่วยพรางตัวและป้องกันภัยอันตราย ขณะที่ปูเสฉวนช่วยนำพาดอกไม้ทะเลเคลื่อนที่ไปด้วย หาแหล่งอาหารใหม่ๆ

ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูลกัน (Commensalism : +/0) หมายถึง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกัน โดยที่ฝ่ายหนึ่งได้รับผลประโยชน์ ขณะที่อีกฝ่ายไม่ได้รับหรือเสียผลประโยชน์ใด  ๆ เช่น

  • ฉลามและเหาฉลาม (Remora) : เหาฉลามเกาะติดกับฉลาม เพื่อกินเศษอาหารพร้อมกับการได้รับการปกป้องคุ้มครองจากฉลาม โดยฉลามไม่ได้รับและไม่เสียประโยชน์ใด ๆ จากการอยู่ร่วมกัน

สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย
สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย

  • พืชอิงอาศัย (Epiphyte) : กระเช้าสีดา หรือ เฟิร์น เป็นพืชที่มักเกาะอยู่ตามต้นไม้ใหญ่ เพื่อใช้เป็นแหล่งพักพิงอาศัย ขอแบ่งปันร่มเงาและความชื้น โดยที่ต้นไม้ใหญ่ไม่ได้ประโยชน์หรือสูญเสียประโยชน์ใด ๆ จากการอยู่ร่วมกัน 

ภาวะปรสิต (Parasitism : +/-) หมายถึง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกัน โดยที่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดสูญเสียผลประโยชน์หรือถูกเบียดเบียนจากการเป็นผู้ถูกอาศัยที่เรียกว่า “โฮสต์” (Host) ขณะที่ฝ่ายที่ได้รับประโยชน์จากความสัมพันธ์ลักษณะนี้ หรือ “ปรสิต” (Parasite) สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทย่อย ได้แก่

  • ปรสิตภายใน (Endoparasite) เช่น แบคทีเรีย และพยาธิชนิดต่าง ๆ 
  • ปรสิตภายนอก (Ectoparasite) เช่น ปลิง เห็บ หมัด และยุง 
  • ปรสิตในเซลล์ (Intracellular Parasite) เช่น ไวรัส

 

 

ภาวะการล่าเหยื่อ (Predation : +/-) หมายถึง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ที่อาศัยอยู่ร่วมกัน โดยที่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดได้รับผลประโยชน์โดยตรงหรือที่เรียกกันว่า “ผู้ล่า” (Predator) ขณะที่ฝ่ายซึ่งสูญเสียประโยชน์หรือสูญเสียชีวิต คือ “ผู้ถูกล่า” หรือ “เหยื่อ” (Prey) นั่นเอง เช่น สิ่งมีชีวิตในกลุ่มผู้บริโภคพืช (Herbivore) ผู้บริโภคสัตว์ (Carnivore) และผู้บริโภคทั้งพืชทั้งสัตว์ (Omnivore) ซึ่งความสัมพันธ์ในภาวะการล่าเหยื่อนี้ ถือเป็นอีกหนึ่งกลไกในธรรมชาติที่มีส่วนช่วยในการสร้างสมดุลให้แก่ระบบนิเวศ โดยการควบคุมจำนวนประชากรของสิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ฝ่าย ทั้งที่ดำรงเป็นผู้ล่าและผู้ถูกล่า 

สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย
สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย

หากระบบนิเวศมีจำนวนผู้ล่ามากเกินไป เมื่อออกล่าจนประชากรของเหยื่อไม่เพียงพอต่อความต้องการของตน ประชากรผู้ล่าจะมีจำนวนลดลงเองตามธรรมชาติ เนื่องจากภาวะการขาดแคลนอาหาร ส่งผลให้ประชากรของเหยื่อที่หลงเหลืออยู่สามารถฟื้นฟูกลับมาและเพิ่มจำนวนประชากรขึ้น ภาวะการล่าเหยื่อนี้ จะเกิดขึ้นเป็นวงจรหรือวัฏจักรตามธรรมชาติ หากไม่เกิดการล่าที่รุนแรงจนส่งผลให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งสูญสิ้นเผ่าพันธุ์ไปจากระบบนิเวศ

 

ภาวะการแข่งขัน (Competition : -/-) หมายถึง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด ซึ่งดำรงอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมเดียวกัน และทั้งสองฝ่ายต่างจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรประเภทเดียวกันในการดำรงชีวิต จนก่อให้เกิดภาวะแก่งแย่งแข่งขันที่ส่งผลเสียแก่ทั้งสองฝ่าย โดยความสัมพันธ์ลักษณะนี้ สามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ

สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย
สิ่งมีชีวิตในข้อใดมีความสัมพันธ์กันแบบภาวะ อิงอาศัย

  • การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน (Intraspecies Competition) เช่น การแย่งอาหารภายในฝูงหมาป่าหรือการแย่งดินแดนและอาณาเขตของสิงโต
  • การแก่งแย่งแข่งขันระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิด (Interspecific Competition) เช่น การแย่งอาหารของเสือและสิงโต ซึ่งมีแหล่งอาหารประเภทเดียวกัน หรือการแก่งแย่งแสงแดดของต้นไม้ เป็นต้น

สืบค้นและเรียบเรียง
คัดคณัฐ ชื่นวงศ์อรุณ


ข้อมูลอ้างอิง

ทรูปลูกปัญญา – https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/69653/-blo-scibio-sci-

Khan Academy – https://www.khanacademy.org/science/ap-biology/ecology-ap/community-ecology/a/interactions-in-communities