Powerpoint เป ดใน libreoffice 5.2 ไม ม เส ยง

Download Impress เอกสารประกอบการอบรม. ดาวน โหลดฟร ท ปร บปร งล าส ด : 4 เมษายน 2012...

เอกสารประกอบการอบรม

Impress โดย วสันต์ คุณดิลกเศวต และ นภาพร คุณดิลกเศวต ([email protected], www.facebook.com/wasankds)

ดาวน์โหลดฟรีที่ www.poeclub.org ปรับปรุงล่าสุด : 4 เมษายน 2012 1. เป็น Open Source ที่ใช้ได้ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย 2. Cross-platform สามารถใช้ได้บน Windows, MacOS X, Linux และ Solaris 3. สนับสนุนมากกว่า 40 ภาษา 4. มีรูปแบบการใช้งานที่คุ้นเคย 5. เชื่อมโยงแต่ละโปรแกรมในชุด LibreOffice เข้าไว้ด้วยกัน 6. สนับสนุนไฟล์เอกสารประเภทอื่นๆมากมาย เช่น PDF, file ตระกูล Microsoft Office, HTML, XML และ LOTUS 1-2-3 เป็นต้น

(เอกสารนี้ ออกแบบให้พิมพ์บนกระดาษ A4 ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง : ลดใช้กระดาษ ลดโลกร้อน )

บทนำาจากผู้เขียน LibreOffice เป็นโปรแกรมด้า นออฟฟิ ศ ที่ คล้ ายคลึ งกั บ Microsoft Office ที่ทุกท่ านคงรู้ จัก กัน เป็ นอย่า งดี แต่ LibreOffice เป็นโปรแกรมที่ให้ใช้งานได้ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย ถึงแม้ LibreOffice จะเป็นของฟรี แต่ศักยภาพของ LibreOffice นั้นไม่ธรรมดาเลย จากประสบการณ์การใช้งาน กว่า 10 ปีของผู้เขียน LibreOffice ตอบสนองการใช้งานได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็น งานพิมพ์เอกสารทั่วๆไป, งานพิมพ์ หนังสือเป็นร้อยๆหน้า, งานพิมพ์หนังสือ e-book สวยๆ, งานสร้างตารางคำานวณต่างๆ, งานพรีเซ้นเทชั่น ,งานสร้างผัง ต่างๆ เป็นต้น ผู้เขียน ไม่ต้องการจะเปรียบเทียบศักยภาพระหว่าง LibreOffice กับ Microsoft Office เพราะดีไม่ดี ขึ้นอยู่กับผู้ใช้ งานและลักษณะของงานมากกว่า จากการศึกษาและประสบการณ์ ผู้ใช้งานซอฟต์แวร์โดยทั่วไป ทำางานโดยใช้ศักยภาพของ โปรแกรมเพียง 10-20% เท่านั้น เอกสารส่วนใหญ่ก็เป็นแบบง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ฉะนั้น ใช้ของดีที่สุด ใช่ว่าจะใช้ได้ดีที่สุด ใช้ ของฟรี ใช่ว่าจะไม่ดีกับงานของเรา อย่างนี้แล้ว เราจะเลือกใช้ของฟรี? หรือของเสียเงิน? จริ ง ๆ แล้ ว ผู้ เ ขี ย นไม่ เ คยคิ ด จะเปิ ด อบรมการใช้ ง าน LibreOffice แต่ เ พราะผู้ เ ขี ย นเอง เป็ น คนหนึ่ ง ที่ ใ ช้ ง าน คอมพิวเตอร์บ่อยมาก จึงปรารถนาจะเป็นส่วนหนึ่ง เพื่อช่วยแก้ไขหรือบรรเทาปัญหาด้านการละเมิดลิขสิทธิ์ในประเทศไทย ประเทศไทย มีอัตราการละเมิดลิขสิทธิ์ติดลำาดับต้นๆของโลก 73% (ปี 2011) ของเครื่อง PC ในบ้านเรา ใช้ซอฟต์แวร์ อย่างผิดกฎหมาย บุคคลทั่วไปหรือองค์กรเล็กๆ คงยังไม่เห็นความสำาคัญของประเด็นด้านการละเมิดลิขสิทธิ์ แต่สำาหรับองค์กร ขนาดกลางหรือใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นโรงงาน โรงเรียน โรงพยาบาล สำานักงานของทั้งภาครัฐและเอกชน จำาเป็นจะต้องให้ความ สำาคัญกับลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ให้มาก โดยเฉพาะในปัจจุบันนี้ ที่แรงกดดันจากกฎหมายก็ดี จากองค์กรตรวจจับด้านการละเมิด ลิขสิทธิ์ก็ดี(BSA) หรือ จากการบริหารองค์กรที่ต้องการความโปร่งใสก็ดี เข้ามามีบทบาทอย่างมากมายในปัจจุบัน เอกสารฉบับนี้ ผู้เขีย นได้รวบรวมเทคนิคการใช้งาน LibreOffice Impress ซึ่งเป็นโปรแกรมในลักษณะคล้ายกับ Microsoft PowerPoint LibreOffice ต่อยอดมาจาก OpenOffice.org เพราะปัญหาภายในของ Oracle ซึ่งเป็นเจ้าของ Openoffice.org จึง ทำาให้ LibreOffice เกิดขึ้นมา และ ณ เวลานี้ LibreOffice ถูกพัฒนาและแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีใน OpenOffice.org ไปมาก แล้ว คู่มือ OpenOffice.org แถบจะใช้ไม่ได้แล้วกับ LibreOffice เอกสารนี้ อาจไม่สวยงามนัก ซึ่งต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ ทั้งนี้เพราะจุดเริ่มต้น เพียงต้องการจดบันทึกคำาสั่งต่างๆ ไว้กัน ลืม สำาหรับใช้งานส่วนตัวเท่านั้น หากมีเวลาหรือมีผู้สนับสนุน ในอนาคตจะได้จัดทำาเป็นรูปเล่มหรือเป็นหนังสือที่สวยงามกว่านี้ ขอพระเจ้าอวยพรทุกท่าน วสันต์ คุณดิลกเศวต เนื่องจากไม่มีผู้ช่วยพิสูจน์อักษร พบข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ เอกสารนี้ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้เป็นคู่มือ จึงไม่ได้เขียนละเอียดมากนัก

สารบัญ บทที่ 1 : Impress เบื้องต้น..........................................................................................7 1.1 :หน้าจอ Impress ............................................................................................................7 1.2 :แถบบอกสถานะ (Status bar)........................................................................................8 1.3 :Navigator window ......................................................................................................8 1.4 :กริดและเส้นไกด์..............................................................................................................9

บทที่ 2 : สรุปขั้นตอนการสร้างพรีเซ้นเทชั่นด้วย Impress.........................................10 2.1 :สรุปการสร้างงานพรีเซ้นเทชั่นด้วย Impress.................................................................10

บทที่ 3 : เริ่มต้นสร้างสไลด์โดยใช้ Presentation Wizard.........................................11 3.1 :เริ่มต้นสร้างสไลด์ด้วย Presentation Wizard..............................................................11

บทที่ 4 : การจัดการสไลด์...........................................................................................13 4.1 :การแก้ชื่อสไลด์..............................................................................................................13 4.2 :การสร้างสไลด์หน้าใหม่ หรือการแทรกสไลด์หน้าใหม่...................................................13 4.3 :การ Copy(คัดลอก) และ Paste(วาง) สไลด์ ................................................................14 4.4 :การ Duplicate(ทำาซำ้า) สไลด์ .......................................................................................14 4.5 :การซ่อนหรือแสดงสไลด์................................................................................................14 4.6 :การจัดเรียงสไลด์...........................................................................................................15

บทที่ 5 : Slide Master หรือ Master Page..............................................................16 5.1 :การใส่ Master Page (Slide Master) ให้กับสไลด์.......................................................16 5.2 :โหมดการปรับแต่ง Slide Master ................................................................................16 5.3 :เพิ่มปุ่ม Slide Master และปุ่ม Normal.......................................................................18 5.4 :การใส่แบ็คกราวด์ให้กับสไลด์จากภาพที่หามาเอง วิธีที่ 1............................................19 5.5 :การใส่แบ็คกราวด์ให้กับสไลด์ จากภาพที่หามาเอง วิธีที่ 2............................................20 5.6 :การใส่องค์ประกอบอื่นๆใน Slide Master....................................................................20 5.7 :การใส่วันที่ ใส่ข้อความท้ายสไลด์ และใส่เลขหน้าให้สไลด์.............................................21 5.8 :ปิดหรือเปิดกรอบต่างๆ ใน Slide Master.....................................................................22

บทที่ 6 : Styles.........................................................................................................23 6.1 :Styles...........................................................................................................................23 6.2 :การปรับแต่งฟอนต์เริ่มต้นในกรอบ Autolayout..........................................................24

6.3 :การตั้งฟอนต์เริ่มต้นให้กับ Text tool.......................................................................................25 6.4 :การตั้งค่าสีพื้นเริ่มต้น................................................................................................................25

บทที่ 7 : การใส่องค์ประกอบให้กับสไลด์..............................................................................26 7.1 :ใส่แบ็คกราวด์ ให้กับสไลด์........................................................................................................26 7.2 :โครงร่างสไลด์ (Layouts).........................................................................................................26 7.3 :การกำาหนดขนาดของสไลด์.......................................................................................................27 7.4 :วาดรูปวาดด้วย Drawing Toolbar..........................................................................................28 7.5 :การสร้าง Text box สำาหรับพิมพ์ข้อความ..............................................................................28 7.6 :กำาหนดรูปแบบให้กับ Line (เส้นขอบ)......................................................................................29 7.7 :กำาหนดรูปแบบให้กับ Area (พืน้ ).............................................................................................29 7.8 :การแทรกภาพ..........................................................................................................................29 7.9 :คำาสั่งปรับแต่งรูปวาด................................................................................................................29 7.10 :Connector and Glue point (เส้นเชื่อมและจุดเชื่อม).......................................................30 7.11 :ตั้งค่าเมื่อมีการคลิกที่รูปวาด (Interaction)...........................................................................31 7.12 :สร้างแอนนิเมชั่นจากภาพนิ่ง..................................................................................................31 7.13 :การสร้างตาราง......................................................................................................................32 7.14 :การแทรกคลิปวิดีโอหรือเสียง (MOVIE/SOUND)..................................................................33 7.15 :การปรับขนาดคลิปวิดีโอ........................................................................................................33

บทที่ 8 : การสร้างโน้ตให้กับสไลด์ ......................................................................................34 8.1 :การสร้างโน้ต(Notes)ให้กับสไลด์..............................................................................................34 8.2 :ปรับแต่งฟอนต์เริ่มต้นให้กับโน้ต...............................................................................................34 8.3 :รูจ้ ักกับ Notes Master............................................................................................................35 8.4 :การปรับแต่ง Note Master.....................................................................................................35 8.5 :การใส่วันที่ ใส่ข้อความหัวหรือท้าย และใส่เลขหน้าให้กับโน้ต..................................................36

บทที่ 9 : Slide Transition, Custom Animation............................................................37 9.1 :การใส่ Transition ให้กับสไลด์.................................................................................................37 9.2 :การยกเลิก Transition ............................................................................................................37 9.3 :การใส่ Custom Animation ..................................................................................................38 9.4 :การปรับแต่ง Custom Animation.........................................................................................39 9.5 :เอฟเฟ็ค Motion paths..........................................................................................................39

บทที่ 10 : การแสดงสไลด์...........................................................................................41 10.1 :แสดงพรีเซ้นเทชั่นแบบ 2 หน้าจอด้วย Presenter Console.....................................41 10.2 :การตั้งค่าแสดงสไลด์ (Slide show settings).............................................................42 10.3 :การเลือกสีปากกาหรือขนาดปากกาขณะแสดงสไลด์...................................................42 10.4 :แสดงสไลด์อัตโนมัติ.....................................................................................................43

บทที่ 11 : การพิมพ์(Printing)และการส่งออก(Exporting).......................................44 11.1 :การพิมพ์สไลด์.............................................................................................................44 11.2 :การพิมพ์เป็นไฟล์.........................................................................................................45 11.3 :การพิมพ์ Handout....................................................................................................45 11.4 :การจัดหน้า Handout (ก่อนพิมพ์ )............................................................................46 11.5 :การพิมพ์โน้ต...............................................................................................................46 11.6 :ส่งสไลด์ออกเป็นไฟล์ .SWF (Flash)............................................................................47 11.7 :ส่งออกสไลด์เป็นไฟล์เป็น HTML.................................................................................47

บทที่ 12 : TIP.............................................................................................................48 12.1 :ดาวน์โหลด Template เพิ่มเติม.................................................................................48 12.2 :การบันทึก Template................................................................................................48 12.3 :การสร้างพรีเซ้นเทชั่นจาก Template........................................................................48

บทที่ 1 : Impress เบื้องต้น 1.1 : หน้าจอ Impress Menu bar

Slides pane

Standard toolbar

Line and filling toolbar

Task pane

Workspace

Menu bar : ศูนย์รวมคำาสั่งต่างๆ Standard toolbar : แถบปุ่มคำาสั่งที่ใช้บ่อย เช่น ปุ่มบันทึก, สั่งพิมพ์ เป็นต้น ( ปิด/เปิด Standard toolbars ให้ไปที่ View > Toolbars > Standard) Line and Filling toolbar : แถบปุ่มคำาสั่งเพื่อปรับแต่งเส้นขอบและพื้นของรูปวาดต่างๆ ( ปิด/เปิด Standard toolbars ให้ไปที่ View > Toolbars > Line and Filling) Slides Pane : แสดงภาพขนาดย่อของสไลด์ ( ปิด/เปิด หน้าต่าง Slides Pane ได้ที่ View > Slide Pane ) Workspace (พื้นที่ทำางาน) : มี 5 TAB ก็คือ Normal แสดงรายละเอียดของสไลด์แต่ละหน้า เป็นมุมมองสำาหรับสร้างและแก้ไขสไลด์ Outline แสดงหัวข้อ(Title)ของสไลด์แต่ละหน้า Notes แสดง Notes ของแต่ละ สไลด์ ป็นมุมมองสำาหรับพิมพ์และแก้ไข Notes Handout แสดงรูปแบบการจัดหน้า Handout (มุมมองก่อนพิมพ์ สไลด์s ลงหน้ากระดาษ) Slide Sorter แสดงสไลด์ ขนาดย่อ สำาหรับจัดเรียง สไลด์ Tasks Pane : Tasks pane ประกอบไปด้วย 5 ส่วนก็คือ ( ปิด/เปิด หน้าต่าง Slides Pane View > Tasks Pane ) Master Pages ใช้เลือก Master Pages (Master Pages มีลักษณะคล้าย Page Style ใน Writer หรือ Calc) Layouts ใช้สำาหรับเลือกโครงร่างการจัดองค์ประกอบให้กับ สไลด์แต่ละหน้า Table Design ใช้สำาหรับสร้างตาราง Custom Animation ใช้สำาหรับใส่เอฟเฟ็คให้กับการแสดงองค์ประกอบภายในสไลด์ 1 หน้า Slide Transition ใช้สำาหรับใส่เอฟเฟ็คให้กับการเปลี่ยนหน้าสไลด์ บทที่ 1 : Impress เบื้องต้น [7]

1.2 : แถบบอกสถานะ (Status bar)

Information

Object position and size

Unsaveed changes

Digital signature

Slide Number Slide Master Zoom slider

Zoom percent

Information แสดงข้อมูลขององค์ประกอบที่กำาลังถูกเลือก Object position and size แสดงตำาแหน่งและขนาดขององค์ประกอบที่กำาลังถูกเลือก Unsaved changes แสดงคำาเตือนการบันทึกข้อมูล Digital signature แสดงการใช้ Digital signature Slide number แสดงสไลด์ หน้าปัจจุบัน / จำานวน สไลด์ ทั้งหมด Slide Master แสดงชื่อของ Slide Master ที่ใช้อยู่ (คล้ายกับ Page Style ใน Writer หรือใน Calc) Zoom slider แถบเลื่อนเพื่อซูมเอกสาร (หรือกด Ctrl + เลื่อนลูกกลิ้งเม้าส์เข้าหรือออก = ซูมออก/เข้า) Zoom percent แสดงขนาดปัจจุบันของเอกสาร หรือ ดับเบิ้ลคลิกเพื่อตั้งค่าซูม

1.3 : Navigator window Navogator window ใช้สำาหรับกระโดดไปยังสไลด์หรือองค์ประกอบต่างๆ โดยการดับเบิ้ลคลิกรายการต่างๆที่อยู่ใน หน้าต่าง การเปิด Navogator window ให้ไปที่ View > Navigator (Ctrl+Shift+F5)

[8] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

1.4 : กริดและเส้นไกด์ ไกด์ คือ เส้นนำาทาง กริด คือ เส้นหรือจุดที่เรียงกันเป็น ตาราง ทั้งกริดและไกด์มีไว้เพื่อช่วยจัดแนวหรือช่วยวางตำาแหน่ง ขององค์ประกอบในสไลด์

ลักษณะของเส้นไกด์และกริด

ตัง้ ค่ากริด : ไปที่ Tools > Options > LibreOffice Impress > Grid

แสดงกริด : ไปที่ View > Grid > Display grid สแน็บกริด (คุณสมบัติการเป็นแม่เหล็กของเส้นกริด) : ไปที่ View > Grid > Snap to grid สร้างเส้นไกด์ : วิธีที่ 1. คลิกที่ไม้บรรทัดแล้วลากมาวางที่พื้นที่ทำางาน(Workspace) วิธีที่ 2. คลิกขวาที่พื้นที่ทำางาน > Insert Snap Point/Line จะปรากฏ หน้าต่างให้ใส่ตำาแหน่งของเส้นไกด์ แสดงเส้นไกด์ : ไปที่ View > Guides > Display guides สแน็บเส้นไกด์ : View > Guides > Snap to guides

*** ทุกคำาสั่งสามารถ คลิกขวาเพื่อเข้าสู่เมนูเกี่ยวกับกริดและเส้นไกด์ ได้ เมนูต่างๆ เมื่อคลิกขวา

บทที่ 1 : Impress เบื้องต้น [9]

บทที่ 2 : สรุปขั้นตอนการสร้างพรีเซ้นเทชั่นด้วย Impress 2.1 : สรุปการสร้างงานพรีเซ้นเทชั่นด้วย Impress 1. สร้างเอกสารใหม่สำาหรับงานพรีเซ้นเทชั่น (File > New > Presentation) 2. สร้างเอกสารแม่ (สร้างแบ็คกราวด์, ใส่เลขหน้า, ใส่วันที่ เป็นต้น) 3. ใส่องค์ประกอบให้กับสไลด์แต่ละหน้า (ภาพ, ข้อความ, เสียง, วิดีโอ) 4. กำาหนด Slide Transition หรือ ใส่เอฟเฟ็คการเปลี่ยนหน้าสไลด์ 5. กำาหนด Custom Animation หรือ ใส่เอฟเฟ็คแสดงองค์ประกอบทีละตัวให้กับสไลด์แต่ละหน้า 6. กำาหนดการแสดงสไลด์ 7. พิมพ์เอกสาร เช่น เอกสารประกอบการบรรยายสำาหรับวิทยากร

[10] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

บทที่ 3 : เริ่มต้นสร้างสไลด์โดยใช้ Presentation Wizard 3.1 : เริ่มต้นสร้างสไลด์ด้วย Presentation Wizard 1. สร้างพรีเซ้นเทชั่นใหม่

ไปที่ File > New > Presentation หรือ เปิดโปรแกรม LibreOffice Impress ทั้ง 2 วิธีจะปรากฎหน้าต่าง Presentaion Wizard

2. ขั้นตอนที่ 1 : Type เลือกเริ่มต้นสร้างพรีเซ้นเทชั่นจาก • Empty presentation สไลด์ว่างๆ (ไม่มี แบ็คกราวด์) • From template สร้างสไลด์จาก Template • Open existing presentation เปิดไฟล์พรีเซ้นเทชั่นที่มีอยูแ่ ล้ว 3. ขั้นตอนที่ 2. : Design เลือก Slide Master และเลือกขนาด ของสไลด์(ปกติใช้ Screen) Slide Master คืออะไรให้ดูหวั ข้อ 5.1 (ณ ตรงนี้เข้าใจไว้ก่อนก็ได้ว่า การเลือก Slide Master คือ การเลือกแบ็คกราวด์)

4. ขั้นตอนที่ 3. : Transition • เลือกเอฟเฟ็คการเปลี่ยนหน้าสไลด์ (Effect) และเลือกความเร็ว(Speed) • เลือกวิธีแสดงสไลด์ ปกติ(Defalut) ใช้ การกดคีย์เพื่อเปลี่ยนหน้าสไดล์ หรือ แบบอัตโนมัต(ิ Automatic) เปลี่ยน หน้าสไดล์แบบกำาหนดเวลา

บทที่ 3 : เริ่มต้นสร้างสไลด์โดยใช้ Presentation Wizard [11]

5. ขั้นตอนที่ 4. : Describe ใส่รายละเอีย ดเกี่ยวกับสไลด์ (ข้ามไป ได้)

[12] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

บทที่ 4 : การจัดการสไลด์ 4.1 : การแก้ชื่อสไลด์ (ที่ Slide Pane) คลิกขวาที่สไลด์ > Rename Slide > … ตั้งชื่อสไลด์ใหม่

LibreOffice เวอร์ ชั่ น 3.4 และ 3.5 ไม่ ไ ด้ แ สดงชื่ อ สไลด์ไ ว้ที่ Slides pane แล้ว ฉะนั้น เมื่ อแก้ชื่ อ สไลด์ จะไม่ แสดงที่ Slides pane แต่ จ ะเห็ น ชื่ อ สไลด์ ใ น Navigator window

4.2 : การสร้างสไลด์หน้าใหม่ หรือการแทรกสไลด์หน้าใหม่ (ที่ Slide Pane) คลิกขวาตำาแหน่งที่จะแทรกสไลด์ใหม่ > New Slide

หรือ คลิกปุ่ม Slide ที่ Presentation Toolbar ( View > Toolbar > Presentation ) จะปรากฏสไลด์หน้าใหม่ทันที ปุ่ม Slide ที่ Presentaion toolbar

หากคลิกที่สามเหลี่ยมเล็กๆด้านข้าง จะสร้างสไลด์ใหม่ พร้อมกับเลือก Layout ได้เลย

คลิกที่ปุ่ม Slide ที่ Presentaion toolbar

บทที่ 4 : การจัดการสไลด์ [13]

4.3 : การ Copy(คัดลอก) และ Paste(วาง) สไลด์ วิธีที่ 1 : ใช้การคลิกขวา การ Copy สไลด์ : (ที่ Slide pane) คลิกขวาที่สไลด์ > Copy การ Paste สไลด์ : (ที่ Slide Pane) คลิกขวา ณ ตำาแหน่งที่ต้องการวางสไลด์ > Paste วิธีที่ 2 : ใช้กด Ctrl + ลากเม้าส์ การ Copy และ Paste : (ที่ Slide pane) กด Ctrl + คลิ ก ค้า งที่ส ไลด์ จากนั้ น ลากสไลด์ ไ ปวางยัง ตำา แหน่ ง ที่ ต้องการ จะเป็นการคัดลอกสไลด์ไปวาง

4.4 : การ Duplicate(ทำาซำ้า) สไลด์ การ Duplicate คือการ Copy และ Paste สไลด์ในขั้นตอนเดียว (ที่ Slide pane) ชี้เม้าส์ค้างไว้ที่สไลด์ จะปรากฎปุ่มตามภาพ จากนั้นคลิกเพื่อทำาซ้ำ้าสไลด์

4.5 : การซ่อนหรือแสดงสไลด์ *** สไลด์ที่ถูกซ่อนไว้จะไม่แสดงเมื่อพรีเซ้นเทชั่น (F5) แต่จะยังสามารถพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ได้ การซ่อนสไลด์ วิธีที่ 1 : (ที่ Slide pane) คลิกขวาที่สไลด์ > Hide Slide วิธีที่ 2 : (ที่ Slide pane) ชี้เม้าส์ค้างไว้ที่สไลด์ จะปรากฎปุ่มตามภาพ (ปุ่มที่2) คลิกเพื่อซ้่อนสไลด์

(ที่ Slide pane) ชี้เม้าส์ค้างไว้ที่สไลด์

คลิกปุ่มกลางเพื่อซ่อนหรือแสดงสไลด์

การแสดงสไลด์ (ที่ถูกซ่อน) วิธีที่ 1 : (ที่ Slide pane) คลิกขวาที่สไลด์ > Show Slide วิธีที่ 2 : (ที่ Slide pane) ชี้เม้าส์ค้างไว้ที่สไลด์ จะปรากฎปุ่มตามภาพ (ปุ่มที่2) คลิกเพื่อแสดงสไลด์

[14] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

4.6 : การจัดเรียงสไลด์ วิธีที่ 1 : (ที่ Slide pane) ใช้เม้าส์ลากสไลด์ไปวางยังตำาแหน่งที่ต้องการ วิธีที่ 2 : (ที่ Workspace) คลิกที่แท็บ Slide sorter (จะเข้าสู่โหมดจัดเรียงสไลด์ ) จากนั้นใช้เม้าส์ลากสไลด์ไปวาง ยังตำาแหน่งที่ต้องการ

ลากสไลด์ไปไว้ยังตำาแหน่งต่างๆ เพื่อทำาการจัดเรียงสไลด์

บทที่ 4 : การจัดการสไลด์ [15]

บทที่ 5 : Slide Master หรือ Master Page 5.1 : การใส่ Master Page (Slide Master) ให้กับสไลด์ *** ชื่ออื่นๆของ Slide Master ก็คือ Master Slide หรือ Master Page Slide Master มีลักษณะคล้ายกับ Page style ใน Writer หรือใน Calc Slide Master เป็นตัวกำาหนดภาพรวมของแบ็คกราวด์ของสไลด์ เช่น ภาพแบ็คกราวด์ , การใส่วันที่ทุกหน้า, การใส่ เลขหน้าทุกหน้า เป็นต้น ( 1 ไฟล์พรีเซ้นเทชั่น หรือ 1 ไฟล์ .ODP สามารถใช้ Slide Master ได้มากกว่า 1 ) Impress มีชุด Slide Master มาให้แล้วหลายชุด อยู่ที่ Tasks pane ในกรอบ Master Pages การใส่ Master Page ให้กับบสไลด์ 1. ที่ Task pane เลือก Master Pages 2. คลิกขวาที่ Slide Master (หรือ Master Page ) จากนั้นเลือก... • Apply to All Slides นำา Slide Master ไปใช้กับทุกๆสไลด์ • Apply to selected Slides นำา Slide Master ใช้กับสไลด์ที่ถูกเลือกเท่านั้น (ถูกเลือกใน Slide pane)

คลิกขวาที่ Slide Master

หลังจากใส่ Slide Master ให้กับสไลด์

*** ดูเผินๆ เป็นเหมือนการเลือกภาพแบ็คกราวด์ให้กับสไลด์เท่านั้น แต่จริงๆแล้ว สามารถกำาหนดอะไรได้มากกว่านั้น

5.2 : โหมดการปรับแต่ง Slide Master การปรั บ แต่ ง Slide Master มี ผ ลต่ อ ทุ ก สไลด์ ที่ ใ ช้ Slide Master นั้นๆ คล้ายกับการปรับแต่ง Page Style ใน Writer หรือใน Calc เริ่มต้นสร้างสไลด์ หากเริ่มโดยใช้ Layout ช่วย (กรอบที่ช่วย ในการจัดตำาแหน่งองค์ประกอบ) เมื่อเราคลิกลงไปในกรอบแล้วพิมพ์ ข้อความ รูปแบบข้อความ สัญลักษณ์หน้าหัวข้อที่ปรากฏออกมา แม้ กระทั่ ง แบ็ ค กราวด์ ถู ก กำา หนดรู ป แบบโดย Slide Master ซึ่ ง เรา สามารถปรับแต่งได้ สร้างสไลด์โดยใช้ Layout ช่วย

[16] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

การปรับแต่ง Slide Master จะต้องเข้าสู่โหมดการจัดการ Slide Master ก่อน โดยให้ไปที่ View > Master > Slide Master (สังเกตุที่พื้นที่ทำางาน ยังเป็นแท็บ Normal อยู่ แต่ลักษณะของสไลด์เปลี่ยนไป ดูตามภาพถัดไป) โหมดหรือมุมมอง Slide Master แสดงโครงร่างของตำาแหน่งและรูปแบบต่างๆของฟอนต์ เช่น ตำาแหน่งองค์ประกอบ แบบอัตโนมัติ, หัวข้ออัตโนมัติ ,รูปแบบฟอนต์ หากมีแบ็คกราวด์ก็จะแสดงแบ็คกราวด์ด้วย เป็นต้น

มุมมองปกติ

มุมมอง Slide Master

*** ระวังให้มาก ว่าเราทำา งานกับโหมดได สิ่งที่จะบอกเราว่า โหมดใดเป็นโหมด Slide Master โหมดใดเป็นโหมด Normal คือความแตกต่างในภาพข้างต้น มุมมอง Slide Master จะมีเส้นโครงร่าง และมีข้อความ ในลักษณะตามภาพ โหมด Slide Master มี 5 กรอบ แสดงองค์ประกอบที่ถูกกำากับรูปแบบโดย Slide Master นัน้ ๆ ก็คือ 1. กรอบ Title area : หัวเรื่อง 2. กรอบ Object area : หัวข้อย่อย 10 ระดับ,ภาพ,เสียง,วิดีโอ 3. กรอบ Date area : วันที่ 4. กรอบ Footer area: ข้อความท้ายสไลด์ 5. กรอบ Slide number area : เลขหน้าสไลด์ ทั้ง 5 กรอบ สามารถปรับแต่งขนาด, รูปแบบตัวอักษร, รูปแบบสัญลักษณ์หน้าหัวข้อ (Bullet) ทั้ง 10 ระดับ, ย้าย ตำาแหน่ง, ใส่ภาพ หรือใส่รูปวาดได้ตามต้องการ ซึ่งจะมีผลต่อสไลด์ทุกๆหน้าที่ใช้ Slide Master นัน้ ๆ ทั้ง 5 กรอบผูกอยู่กับ Presentation style ทั้ง 14 ตัว ซึ่งสามารถปรับแต่งรูปแบบของ Slide Master ในแต่ละกรอบ ได้โดย เปิดหน้าต่าง Styles and Formatting (กด F11) > กดปุ่ม Presentation styles > คลิกขวา Style ที่ตรงกับกรอบ ต่างๆ > Modify... จากนั้นปรับแต่งได้ตามต้องการ

บทที่ 5 : Slide Master หรือ Master Page [17]

5.3 : เพิ่มปุ่ม Slide Master และปุ่ม Normal ต่อจากข้อ 5.2 เพื่อความสะดวกในการสลับไปมาระหว่างโหมด Normal และโหมด Slide Master ให้เพิ่มปุ่ม Normal และปุ่ม Slide Master ไว้บน Toolbar จะดีมากๆ 1. ไปที่ Tools > Customize... จะปรากฎหน้าต่าง Customize 2. ที่แท็บ Toolbars • ที่ ก รอบ LibreOffice Impress Toolbars ที่ ช่ อ ง Toolbar เลื อ ก Toolbar ที่ ต้ อ งการจะเพิ่ ม ปุ่ ม เข้ า ไป (จากภาพได้เลือก Presentation ไว้ เพราะ Toolbar นี้ มีปุ่มน้อย) • ที่กรอบ Toolbar content แสดงปุ่มต่างๆ ที่ Toolbar นั้นๆมี ให้คลิกที่ปุ่ม Add... เพื่อจะเพิ่มปุ่มเข้ามา จะ ปรากฏหน้าต่าง Add Commands

• ที่หน้าต่าง Add Commands แสดงรายการปุ่มต่างๆแบ่งเป็นหมวดหมู่ (Category) ปุ่ม Normal และปุ่ม Slide Master อยู่ที่ Category “View” เมื่อหาเจอแล้ว ให้คลิกที่ Add เพื่อเพิ่มปุ่มเข้ามา

3. ได้ปุ่ม Normal และ Slide Master บน Toolbar (Presentation toolbar)

*** หากทำางานอยู่กับโหมดใด ปุ่มนั้นแสดงสถานะถูกกดอยู่

[18] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

5.4 : การใส่แบ็คกราวด์ให้กับสไลด์จากภาพที่หามาเอง วิธีที่ 1 วิธีนี้มี 2 ขั้นตอนใหญ่ๆ ก็คือ 1. โหลดภาพเข้าสู่โปรแกรม 2. นำาภาพที่โหลดเข้ามาไปใช้เป็นแบ็คกราวด์ การโหลดภาพเข้าสู่โปรแกรม 1. ไปที่ Format > Area... จะปรากฏหน้าต่าง Area 2. ที่แท็บ Bitmaps คลิกที่ปุ่ม Import... จะปรากฎหน้าต่างให้เลื อกภาพ จากนั้นเลือกภาพที่ต้องการโหลดเขา โปรแกรม 3. เมื่อโหลด(หรือ Import) ภาพเข้ามาแล้วก็จะปรากฎรายชื่อ (จากภาพชื่อว่า Cartoon dog)

การนำาภาพที่โหลดเข้ามาไปใส่เป็นแบ็คกราวด์ 1. ไปที่ Format > Page... จะปรากฏหน้าต่าง Page Setup 2. ที่แท็บ Background - ที่กรอบ Fill เลือก Bitmap จากนั้นเลือกภาพที่โหลดเข้ามา (Cartoon-dog) - ที่กรอบ Postion เลือก AutoFit (ขยายภาพเต็มหน้าสไลด์)

(หรือ เปิดหน้าต่าง Styles and Formatting (F11) > คลิกที่ปุ่ม Presentation Styles > คลิกขวาที่ Background > Modify … จะปรากฎหน้าต่างเดียวกัน ) บทที่ 5 : Slide Master หรือ Master Page [19]

5.5 : การใส่แบ็คกราวด์ให้กับสไลด์ จากภาพที่หามาเอง วิธีที่ 2 การใส่แบ็คกราวด์ 1. เข้าสู่มุมมอง Slide Master (View > Master > Slide Master) 2. นำาภาพมาวางปกติ แล้วจัดให้เต็มขอบของสไลด์ ( เมื่อสลับเข้าสู่มุมมอง Normal ภาพนี้จะปรับแต่งไม่ได้ ) 3. ส่งภาพไปอยู่ด้านหลังสุด (คลิกขวาที่ภาพ > Arrange > Send to back)

*** การปรับแต่ง Slide Master จะมีผลต่อทุกๆสไลด์ ที่ใช้ Slide Master นั้นๆ

5.6 : การใส่องค์ประกอบอื่นๆใน Slide Master หากต้องการใส่องค์ประกอบเพิ่มเติมนอกจากแบ็คกราวด์ เช่น ใส่โลโก้ ใส่เลขหน้าให้กับสไลด์ทุกหน้า วิธีที่ง่ายที่สุดก็ คือ ใส่องค์ประกอบดังกล่าวที่โหมด Slide Master (นำาภาพมาวางตามปกติ วาดองค์ประกอบต่างๆ เป็นต้น ) แล้วองค์ประกอบ ที่ใส่ลงไป จะปรากฏอยู่ในสไลด์ทุกหน้า

เช่น การใส่โลโก้ ให้นำาภาพมาวางตามปกติ ในโหมด Slide Master (ตามภาพ) เมื่อสลับกลับไปที่โหมด Normal โลโก้ จะปรากฎในสไลด์ทุกน้า (ที่ใช้ Slide Master นั้นๆ) และที่โหมด Normal ภาพโลโก้จะไม่สามารถขยับปรับแต่งใดๆได้เลย ต้อง เข้าไปปรับที่โหมด Slide Master เท่านั้น

[20] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

5.7 : การใส่วันที่ ใส่ข้อความท้ายสไลด์ และใส่เลขหน้าให้สไลด์ ที่ Slide Master มีกรอบสำาหรับใส่วันที่(Date/Time) กรอบข้อความท้ายสไลด์(Footer) และกรอบใส่เลขหน้า (Page Number) อยู่แล้ว แต่ทั้งนี้กรอบดังกล่าวจะแสดงข้อมูลก็ต่อเมื่อเปิดใช้งานก่อน ข้อมูลที่อยูใ่ นกรอบ เป็นข้อมูลแบบ Field ซึ่งจะแปรเปลี่ยนตามสถานะการณ์ เช่น วันที่เปลี่ยน เลขหน้าเปลี่ยน ข้อมูล ก็จะเปลี่ยนตามไปด้วย การเปิดใช้งานกรอบวันที่ กรอบข้อความท้ายสไลด์ และกรอบลขหน้า 1. ไปที่ Insert > Date and Time... หรือ Insert > Page Number... จะเปิดหน้าต่างเดียวกัน ก็คือ Header and Footer 2. ที่แท็บ Slide เลือกเปิด Date and time / Footer / Page Number และกำาหนดค่าต่างๆ ( ค่าที่กำาหนดจะมีผล ต่อสไลด์ทุกหน้าที่ใช้ Slide Master รูปแบบนั้น )

3. สลับเข้าสู่โหมด Normal เพื่อดูผล

*** หากฟอนต์เล็กหรือใหญ่ไปสามารถปรับฟอนต์ได้ ดังนี้ 1. เข้าสู่โหมด Slide Master (View > Master > Slide Master ) 2. ที่กรอบ Date amd time/ Footer / Page Number ทำาแถบสีข้อความ ที่อยู่ในวงเล็บ < > บทที่ 5 : Slide Master หรือ Master Page [21]

3. ปรับขนาดฟอนต์โดยใช้ Formatting toolbar ตามปกติ (หรือ คลิกขวา > Character....) **** หากข้อความและวงเล็บ หายไป จะด้วยเหตุใดก็ตาม ไม่สามารถพิมพ์เพื่อจะนำากลับมาได้ เพราะเป็นข้อมูล แบบ Fileds ต้องไปที่ Insert > Fields แล้วเลือกข้อมูลแบบ Fields ที่เกี่ยวข้อง

5.8 : ปิดหรือเปิดกรอบต่างๆ ใน Slide Master สามารถปิด/เปิดกรอบต่างๆ ใน Slide Master ได้ โดยไปที่ View > Master Elements … จะปรากฎหน้าต่าง ตาม ภาพ จากนั้นสามารถเลือก ปิด/เปิดกรอบต่างๆ ได้ตามต้องการ

[22] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

บทที่ 6 : Styles 6.1 : Styles Styles (กด F11 เพื่ อ เปิ ด หน้ า ต่ า ง Style and Formatting) คื อ รู ปแบบการตกแต่ ง รู ป วาด ข้ อ ความ หรื อ องค์ ประกอบต่างๆที่ถูกบันทึกไว้ เพื่อที่จะนำา มาใส่ให้กับองค์ประกอบอื่นๆในภายหลัง โดยไม่ต้องกำา หนดรูปแบบให้กับองค์ ประกอบใหม่ตั้งแต่ต้น Styles ใน Impress มี 2 หมวด(Categories) ก็คือ 1. Graphic styles (ปุ่มแรก) 2. Presentation styles (ปุ่มที่สอง)

Graphic styles

Presentation styles

• Graphics styles Graphics styles เป็น Style ที่ใช้กับรูปวาดที่วาดด้วย Drawing toolbar เช่น Lines , Shapes และ Text boxes เป็นต้น • Presentation styles Presentation styles เป็น Style ที่ใช้กำา หนดรูปแบบของ Slide Master โดย Presentation styles มีอยู่ 14 ตัว ไม่สามารถสร้างเพิ่มได้ ลบไม่ได้ เปลี่ยนชื่อไม่ได้ แต่สามารถปรับแต่งได้ ทั้งนี้เพราะ Slide Master มีรูปแบบให้กำากับอยู่ 14 รูปแบบเท่านั้น Presentation styles แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ก็คือ 1. Background , 2. Background objects (วันที่หรือเวลา, ข้อความ้ทายสไลด์, เลขหน้า) และ 3. Text โดยแบ่งเป็น Notes, Outline 1-9, Subtitle, และ Title

บทที่ 6 : Styles [23]

6.2 : การปรับแต่งฟอนต์เริ่มต้นในกรอบ Autolayout ที่โหมด Normal หากสร้างสไลด์โดยใช้ Layout ช่วย เมื่อพิมพ์ข้อความลงในกรอบ Autolayout เช่นกรอบ Title หรือ Outline text เป็นต้น โปรแกรมจะตั้งรูปแบบข้อความไว้แล้ว ว่าเป็นฟอนต์อะไร? ขนาดเท่าไร? สีอะไร? ซึ่งตรงนี้ถูกกำากับโดย Presentation style (แต่ละ Slide Master มี Presentation style 14 เหมือนกัน แต่ตั้งค่าไว้ไม่เหมือนกัน) การปรับแต่งฟอนต์เริ่มต้นในกรอบ Autolayout วิธีที่ 1 : จัดรูปแบบฟอนต์ในกรอบต่างๆ ที่โหมด Slide Master เลือกข้อความในกรอบ > ปรับแต่งรูปแบบฟอนต์โดยใช้ Formatting toolbar วิธีที่ 2 : ปรับแก้ Presentation styles (วิธีนี้ดีกว่า เพราะสามารถกำาหนดรายละเอียดได้มากกว่า และจะไม่มีปัญหา ในกรณีใช้ภาษาไทยและอังกฤษร่วมกัน แต่ต้องตั้งฟอนต์ทั้งไทยและอังกฤษให้เหมือนกัน) เปิดหน้าต่าง Styles and Formatting (F11) > คลิกปุ่ม Presentation Styles > คลิกขวาที่ชื่อ Presentation Style ที่ต้องการปรับแก้ > Modify … จะปรากฏหน้าต่างมาให้ปรับแต่งค่าต่างๆ ตัวอย่างการปรับแต่ง Presentation style ที่ชื่อ Title (กรอบหัวเรื่อง)

มุมมอง Slide Master หลังปรับแต่งแล้ว

มุมมอง Normal หลังปรับแต่งแล้ว

[24] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

6.3 : การตั้งฟอนต์เริ่มต้นให้กับ Text tool เมื่อพิมพ์ข้อความด้วยเครื่องมือ Text tool (ปุ่ม บน Drawing toolbar) โปรแกรมได้กำาหนดค่าเริ่มต้นของฟอนต์ และขนาดฟอนต์ไว้แล้ว ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได้ ว่าจะให้ฟอนต์เริ่มต้นเป็นอะไร? 1. กด F11 เพื่อเปิดหน้าต่าง Style and Formatting 2. คลิกที่ปุ่ม Graphic styles > คลิกขวาที่ Default > Modify... 3. จะปรากฎหน้าต่าง Graphics Style (ตามภาพ) 4. ที่แท็บฟอนต์ให้แก้เป็นฟอนต์ตามต้องการ

คลิกขวาที่ Default > Modify...

เมื่อเริ่มต้นสร้างข้อความใหม่ ฟอนต์เริ่มต้นจะเป็นไปอย่างที่ได้ตั้งค่าไว้

6.4 : การตั้งค่าสีพื้นเริ่มต้น เมื่อเริ่มต้นสร้าง สีเหลี่ยม สามเหลี่ยม หรือวงกลม ที่มีสีพื้น โปรแกรมจะใส่สีพื้น เริ่มต้นมาให้เป็น BLUE8 ซึ่งสามารถแก้ไขสีพื้นเริ่มต้นนี้ได้ ให้ทำาวิธีเดียวกับข้อก่อนหน้านี้ แต่ให้ดูที่ แท็บ Area จากนั้นเลือกสีที่ต้องการ สีพื้นเริ่มต้น

ทีห่ น้าต่าง Style and Formatting > คลิกที่ปุ่ม Graphic styles > คลิกขวาที่ Default > Modify... > แท็บ Area

บทที่ 6 : Styles [25]

บทที่ 7 : การใส่องค์ประกอบให้กับสไลด์ 7.1 : ใส่แบ็คกราวด์ ให้กับสไลด์ การใส่แบ็คกราวด์ให้กับสไลด์ ก็คือ การเลือกใช้ Master Page (หรือ Slide Master) การใส่แบ็คกราวด์ให้กับสไลด์ 1. ที่ Task pane เลือก Master Pages 2. คลิกขวาที่ Slide Master (หรือ Master Page ) จากนั้นเลือก... • Apply to All Slides นำา Slide Master ไปใช้กับทุกสไลด์ • Apply to selected Slides นำา Slide Master ไปใช้กับสไลด์ที่ถูกเลือกเท่านั้น (ถูกเลือกใน Slide pane)

ที่ใช้อยู่ ณ ปัจจุบัน

ถูกใช้ไปเมื่อไม่นานนี้ (แต่ยกเลิกไปแล้ว)

ทั้งหมดที่มีให้เลือก

*** ใน 1 เอกสาร .ODP สามาถใช้ Master page(หรือ Slide Master) ได้หลายต้วพร้อมกัน

7.2 : โครงร่างสไลด์ (Layouts) Impress มี Layout หรือโครงร่างสำาหรับการจัดหน้าสไลด์มาให้ในเบื้องต้นแล้ว เพื่อความสะดวก ให้ดู ที่ Task pane แท็บ Layouts.... Layout ในแต่ละกรอบ ถูกกำากับรูปแบบไว้แล้ว โดย Presentaion Style ทั้ง 14 ตัว การเลือก Layout ในหัวข้อนี้ เป็นการเลือกโครงร่างการจัดวางองค์ประกอบของสไลด์ในเบื้องต้นว่า จะให้อะไรอยู่ตรงไหน? มีเนื้อหาอยู่กี่ส่วน? อะไรอยู่ ซ้าย? อะไรอยู่ขวา? เพื่อความสะดวกในการวางตำาแหน่งขององค์ประกอบต่างๆ

[26] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

1. ที่ Task pane > เลือกที่แท็บ Layouts.... 2. คลิกเลือก Layout ตามต้องการ

ที่แท็บ Layouts คลิกเลือก Layout ทีต่ ้องการ

3. ที่สไลด์(พืน้ ที่ทำางาน) จะปรากฎกรอบเส้นประตาม Layout ที่ได้เลือกไป 4. จากนั้นสามารถแทรกข้อความ, ตาราง, ผัง, ภาพ หรือ คลิปวิดีโอ ได้ตามต้องการ คลิกเพื่อพิมพ์ข้อความ Insert table

Insert Picture

Insert Chart

Insert Movie

7.3 : การกำาหนดขนาดของสไลด์ ไปที่ Format > Page.... จะปรากฏหน้าต่าง Page Setup ที่หน้าต่าง Page Setup ที่กรอบ Paper format ปกติจะเลือกเป็น Screen (เต็มจอ) หากทำาสไลด์สำาหรับงานพลีเซ้น เทชั่นผ่านเครื่องฉายสไลด์ (Projector)

บทที่ 7 : การใส่องค์ประกอบให้กับสไลด์ [27]

7.4 : วาดรูปวาดด้วย Drawing Toolbar Drawing toolbar เป็นเครื่องมือหลักที่ใช้สร้างองค์ประกอบให้กับสไลด์ Drawing toolbar ใช้วาดรูปวาดต่างๆ เช่น ข้อความ, สี่เหลี่ยม, สามเหลี่ยม, วงกลม, ลูกศร หรือ เส้น เป็นต้น ส่วนที่ 1 (ซ้าย) = ใช้สร้างรูปวาดแบบต่างๆ

1 Select

4 Rectangle

7 Vertical text

10 Basic shapes

13 Flowcharts

2 Line

5 Ellipse

8 Curve

11 Symbol shapes

14 Callouts

3 Arrow

6 Text

9 Connector

12 Block arrows

15 Stars

*** ทุกองค์ประกอบ สามารถปรับแต่งในรายละเอียดโดย คลิกขวา > เลือกส่วนที่ต้องการปรับแต่ง ส่วนที่ 2 (ขวา) = ใช้ปรับแต่งรูปวาด

1 Edit Points

4 From File

7 Alignment

10 Interaction

2 Glue Points

5 Gallery

8 Arrange

11 Visible buttons

3 Fontwork

6 Rotate

9 Extrusion On/Off

เกี่ยวกับภาพและการทำางานกับภาพ จะอธิบายไว้คร่าวๆเท่านั้น เพราะการทำางานจะเหมือนกับ Writer หรือ Draw ซึ่ง สามารถดาวน์โหลดเอกสารประกอบการอบรมของทั้ง 2 ตัว มาศึกษาเพิ่มเติมได้

7.5 : การสร้าง Text box สำาหรับพิมพ์ข้อความ 1. คลิกที่ปุ่ม

ที่ Drawing toolbar

2. คลิกค้างบนพื้นที่ทำางาน แล้ววาดเป็นกรอบสี่เหลี่ยม 3. คลิก ที่ก รอบที่พึ่ ง วาดไป(Text box) แล้ วพิมพ์ ข้อ ความ โดย กรอบดังกล่าวสามารถถ ย้าย ปรับขนาด หรือหมุนได้

[28] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

7.6 : กำาหนดรูปแบบให้กับ Line (เส้นขอบ) Line หรือ เส้นขอบของรูปวาด สามารถกำาหนดคุณสมบัติ ได้โดยใช้ Line and Filling toolbar (View > Toolbars >Line and Filling )

ตัวอย่างการตกแต่งเส้นขอบ

Line and Filling toolbar (ส่วนซ้าย)

หรือ คลิกขวาที่รูปวาด > Line... จะปรากฏหน้าต่าง Line (วิธนี ี้กำาหนดได้ละเอียดกว่า)

7.7 : กำาหนดรูปแบบให้กับ Area (พืน้ ) Area หรือ พื้นของรูปวาด มีเฉพาะรูปวาดที่ มีลั ก ษณะเป็ นวงปิ ด สามารถกำา หนดคุณสมบัติ ได้โ ดยใช้ Line and Filling toolbar (View > Toolbars >Line and Filling )

ตัวอย่างพื้นแบบต่างๆ

Line and Filling toolbar (ส่วนขวา)

หรือ คลิกขวาที่รูปวาด > Area ... จะปรากฏหน้าต่าง Area (วิธนี ี้กำาหนดได้ละเอียดกว่า)

7.8 : การแทรกภาพ การแทรกภาพเข้ามาในสไลด์ มีหลายวิธี วิธีที่ 1. Drag and Drop : ใช้เม้าส์ลากภาพจากภายนอก มาวางในสไลด์ วิธีที่ 2. Insert file : ไปที่ Insert > Picture > From File... จากนั้นเลือกภาพที่ต้องการ วิธีที่ 3. Image gallery : เปิดหน้าต่าง Image gallery โดยคลิกปุ่ม Gallery ที่ Drawing toolbar จากนั้นลากภาพ จาก Gallery มาวางในสไลด์

7.9 : คำาสั่งปรับแต่งรูปวาด การรวมกุล่ม(Group) คือ การนำารูปวาดมากกว่า 2 ตัวมารวมกลุ่มกัน • เลือกรูปวาดทั้งหมด > คลิกขวา > Group (หรือกด CTRL+Shift+G) เมื่อรวมกลุ่มแล้วจะสามารถย้าย หมุน หรือ ปรับขนาด ได้พร้อมๆกันทั้งกลุ่ม • หลังรวมกลุ่มแล้ว สามารถเข้าไปปรับแต่งรูปวาดทีละตัวได้โดย กด F3 จากนั้นจะสามารถเลือกรูปวาดเพื่อปรับแต่ง ทีละตัวได้ หลังปรับแต่งเสร็จแล้ว ให้คลิกเม้าส์ข้างนอกหรือ กด Ctrl+F3 เพื่อออกจากโหมดการเลือกทีละตัว บทที่ 7 : การใส่องค์ประกอบให้กับสไลด์ [29]

ยกเลิกการรวมกลุ่ม (Ungroup) เลือกกลุ่ม(Group) > คลิกขวา > Ungroup (หรือ CTRL+Alt+Shift+G) การปรับขนาด (Size) คลิกขวาที่องค์ประกอบ > Position and size... > ใส่ค่าขนาดที่ต้องการ (ใช้เม้าส์ปรับขนาด กด Shift เพื่อรักษาสัดส่วน ) การย้าย (Move) คลิกขวาที่ องค์ประกอบ > Position and size... > ใส่ค่าตำาแหน่งที่ต้องการ (ใช้เม้าส์ย้ายตำาแหน่ง กด Shift เพื่อรักษาสัดส่วน ) การพลิก ( Flip) พลิกรูปวาดในแนวแกน X และ Y คลิกขวาที่รปู วาด > Flip > เลือก Horizontally/Vertically การหมุน คลิกปุ่ม ที่ Drawing toolbar > คลิกที่รปู วาด จะปรากฎกรอบเพื่อหมุน หรือ คลิกขวาที่รูปวาด > Position and size... > แท็บ Rotation.. ใส่ค่าที่ต้องการ Align จัดเรียงรูปวาดตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปให้สัมพันธ์กันในแนวแกน X-Y) เลือกรูปวาด (ตั้งแต่ 2 ตัว ) > คลิกปุ่มเพื่อเลือกแนวการจัดเรียง

ปุ่ม Align แบบต่างๆ

Arrange จัดเรียงรูปวาดที่ซ้อนทับกันอยูใ่ นแนวแกน Z เลือกรูปวาด > คลิกปุ่มเพื่อย้ายลำาดับการซ้้อนทับ

ปุ่ม Arrange แบบต่างๆ

7.10 : Connector and Glue point (เส้นเชื่อมและจุดเชื่อม) Connector (ปุ่ม

บน Drawing toolbar) เป็นเส้นที่ใช้เชื่อมต่อรูปวาดเข้าด้วยกัน ณ ตำาแหน่ง Glue point

Connector

Glue point Connector และ Glue point

เชื่อมรูปวาดด้วย Connector

[30] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

เราสามารถปรับแต่ง เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง Glue point ได้โดยใช้ Gluepoints toolbar ซึ่งสามารถเปิดได้ที่ View > Toolbar > Gluepoints หรือคลิกปุ่ม Gluepoints (ปุ่มรูปหลอดกาว

) ที่ Drawing Toolbar

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1011 12 1 Insert point

4 Exit right

7 Horizontal left

10 Vertical left

2 Exit left

5 Exit bottom

8 Horizontal center

11 Vertical top

3 Exit top

6 Relative

9 Horizontal right

12 Vertical right

7.11 : ตั้งค่าเมื่อมีการคลิกที่รูปวาด (Interaction) เมื่อมีเหตุการณ์คลิกที่รูปวาด เราสามารถตั้งค่าเพื่อตอบสนองต่อการคลิกนั้นได้ เช่น โดดไปที่ สไลด์ถัดไป, เล่นเสียง เป็นต้น คลิกขวาที่รูปวาด > Interaction... หรือ เลือกที่รูปวาด > คลิกที่ปุ่ม Interaction ( จะปรากฎหน้าต่าง Interaction … จากนั้นทำาการตั้งค่าที่ต้องการ

) ที่ Drawing toolbar

7.12 : สร้างแอนนิเมชั่นจากภาพนิ่ง การสร้างแอนนิเมชั่นจากภาพนิ่ง คือการนำารูปวาดหรือภาพหลายๆภาพ มาทำาเป็นแอนนิเมชั่น 1. เปิดหน้าต่าง Animation โดยไปที่ Insert > Animated Images

บทที่ 7 : การใส่องค์ประกอบให้กับสไลด์ [31]

กำาหนดระยะเวลาแสดงภาพ หรือ กำาหนดจำานวนครั้งที่แสดงภาพได้ที่นี่

ข้อ 2

ข้อ 3

2. เลือกภาพวาดหรือภาพ (ภาพที่1) จากนั้นคลิกปุ่ม ชั่นภาพที่ 1 3. ในกรอบ Animation group เลือก และจำานวนครั้งที่แสดงภาพได้ (Max = วนไม่รู้จบ)

(Apply object) เพื่อ Copy รูปวาด มาทำาเป็นแอนนิเม จะทำา ให้สามารถกำา หนด ระยะเวลาแสดงภาพ

4. ทำาซำ้าวน ข้อที่ 2-3 จะได้ภาพถัดไปไปเรื่อยๆ 5. คลิกที่ปุ่ม Create ก็จะได้แอนนิเมชั่นที่สร้างไว้ หรือสร้างรูปวาดหรือวางภาพให้ครบ จากนั้นคลิกที่ปุ่ม ที่เลือกมาทำาแอนนิเมชั่นในครั้งเดียว → แต่วิธีนี้ไม่ค่อยดีนัก

(Apply objects individually ) จะเป็นการดึงทุกภาพ

7.13 : การสร้างตาราง การสร้างตารางในสไลด์ สามารถทำาได้โดย (ที่ Task pane) กรอบ Table Design > คลิกที่รูปแบบตาราง หรือ คลิกขวาที่สไลด์ > Insert > Table … จะ ปรากฎหน้าต่าง Insert table จากนั้นให้ใส่จำานวนแถว(Row) และหลัก(Column) แล้วคลิกที่ OK ก็จะได้ตาราง

*** สามารถเปลี่ยนรูปแบบของตารางได้โดย ดับเบิ้ลคลิกที่รูปแบบตาราง ที่กรอบ Table Design (ที่ Task pane)

[32] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

7.14 : การแทรกคลิปวิดีโอหรือเสียง (MOVIE/SOUND) การแทรกคลิปวิดีโอหรือเสียง มีหลายวิธี วิธีที่ 1. ใช้เม้าส์ลากไฟล์คลิปวิดีโอหรือเสียงจากภายนอกมาวางในสไลด์ วิธีที่ 2. ไปที่ Insert > Picture > Movie and Sound จากนั้นเลือกไฟล์คลิปวิดีโอหรือเสียงที่ต้องการ เมื่อแทรกมาแล้ว สามารเล่นไฟล์ได้โดยใช้ Media Playback toolbar

7.15 : การปรับขนาดคลิปวิดีโอ หลังจากแทรกไฟล์คลิปวิดีโอเข้ามาแล้ว พืน้ ที่สีดำาๆ จะแทนขอบเขตของคลิปวิดีโอที่จะทำาการฟรีเซ้น ซึ่งสามารถปรับ ขนาดได้

1. คลิกขวาที่คลิปวิดีโอ > Position and Size... 2. จะปรากฎหน้าต่างๆ Position and Size 3. จากนั้นใส่ขนาดและตำาแหน่งตามต้องการ

*** ปรับด้วยวิธีนี้จะกำาหนดให้กับพอดีกับหน้าจอได้ง่าย บทที่ 7 : การใส่องค์ประกอบให้กับสไลด์ [33]

บทที่ 8 : การสร้างโน้ตให้กับสไลด์ 8.1 : การสร้างโน้ต(Notes)ให้กับสไลด์ เราสามารถใส่โน้ต (บันทึกข้อความ) ให้กับแต่ละสไลด์ ได้โดยคลิกที่แท็บ Notes จากนั้นจะปรากฎพื้นที่สำาหรับพิมพ์โน้ต สำาหรับสไลด์แต่ละหน้าโดยเฉพาะ

กรอบแสดงสไลด์

กรอบสำาหรับพิมพ์โน้ต

8.2 : ปรับแต่งฟอนต์เริ่มต้นให้กับโน้ต ข้อความที่พิมพ์ลงในกรอบพิมพ์โน้ต ถูกตั้งฟอนต์เริ่มต้นไว้แล้ว ซึ่งถูกกำา กับโดย Presentation style ที่ชื่อ Notes ให้แก้ฟอนต์ที่ Style นี้จะได้ฟอนต์เริ่มต้นตามที่ต้องการ

[34] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

8.3 : รู้จักกับ Notes Master Notes Master มี ลั ก ษณะคล้ า ยกั บ Slide Master Notes Master เป็นโหมดสำาหรับกำาหนดรูปแบบเบื้องต้นให้กับ โน้ตทุกหน้า ซึ่งจะเป็นประโยชน์มากๆ สำาหรับการพิมพ์โน้ตเป็น PDF หรือพิมพ์ออก Printer

สภาพเดิมๆของ Notes Master

8.4 : การปรับแต่ง Note Master การปรั บ แต่ ง Notes Master เหมื อนกับ การปรั บ แต่ ง Slide Master ทุก อย่ าง ภาพซ้ า ยล่ า งได้ ป รั บ แต่ ง Notes Master ไว้ (ใส่ข้อความหัวสไลด์, ใส่วันที่, ใส่เลขหน้า , ใส่ขีดเส้นแบ่ง) ภาพล่างขวาเมื่อสลับเข้าสู่โหมด Notes Page ก่อนปรับแต่ง Notes Master ทุกครั้ง ต้องเข้าสู่โหมดการจัดการ Note Master ก่อน โดยไปที่ View > Master > Notes Master สังเกตุจะพบว่า Layout ของโน้ตเปลี่ยนไป แม้จะยังอยู่ที่แท็บ Notes ก็ตาม เมื่อปรับแต่งจนพอใจแล้ว ให้เข้าสู่โหมดพิมพ์โน้ตปกติ เพื่อดูผล ที่ View > Notes Page

มุมมอง Notes Master

มุมมอง Notes page

บทที่ 8 : การสร้างโน้ตให้กับสไลด์ [35]

8.5 : การใส่วันที่ ใส่ข้อความหัวหรือท้าย และใส่เลขหน้าให้กับโน้ต ที่ Notes Master มีกรอบสำาหรับใส่วันที่(Date/Time) กรอบข้อความท้ายหรือหัว(Footer และ Header) และกรอบ ใส่เลขหน้า(Page Number) อยู่แล้ว แต่ทั้งนี้กรอบดังกล่าวจะแสดงข้อมูลก็ต่อเมื่อเปิดใช้งาน ข้อมูลที่อยู่ในกรอบเป็นข้อมูลแบบ Field จะแปรเปลี่ยนตามสถานะการณ์ เช่น วันที่เปลี่ยน เลขหน้าเปลี่ยน ข้อมูลก็จะ เปลี่ยนตามไปด้วย การเปิดใช้งานกรอบวันที่ กรอบข้อความท้ายหรือหัว และกรอบเลขหน้า 1. ไปที่ Insert > Date and Time... หรือ Insert > Page Number... จะเปิดหน้าต่างเดียวกัน ก็คือ Header and Footer 2. ที่แท็บ Notes and Handouts เลือกให้เปิดใช้ Header / Date and time / Footer / Page Number และ กำาหนดค่าต่างๆ

3. ผล เป็นไปตามภาพขวาล่างในหัวข้อที่ 8.4

[36] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

บทที่ 9 : Slide Transition, Custom Animation 9.1 : การใส่ Transition ให้กับสไลด์ Transition คือ เอฟเฟ็คเมื่อเปลี่ยนหน้าสไลด์จากหน้าหนึ่งไปอีกหน้าหนึ่ง การใส่ Transition ให้กับ สไลด์ 1 หน้า 1. (ที่ Slide pane) เลือกสไลด์ที่ต้องการใส่ Transition 2. (ที่ Task pane) เลือกแท็บ Slide Transition 3. เลือกเอฟเฟ็ค เช่น Wipe Right, Box in เป็นต้น

4. เลือก Speed (ความเร็วของ เอฟเฟ็ค) 5. ใส่เสียง (หรือ No sound ไม่มีเสียง) หากใส่เสียง ตัวเลือก “Loop until next sound” จะทำางาน หาก เลือกตัวเลือกนี้ จะทำา ให้เล่นเสียงวนไปจนกว่าจะถึงเสีย งตัวต่อไป หากไม่มี เสียงตัวต่อไป จะเล่นวนจนจบการนำาเสนองานพรีเซ้นเทชั่น 6. กำาหนดวิธีการเปลี่ยนสไลด์ (ค่าปกติคือใช้เม้าส์คลิก แต่สามารถตั้ง เวลาให้เปลี่ยนสไลด์ได้ ) การใส่ Transition ให้กับสไลด์ทุกหน้า หากต้องการนำา Slide Transition ไปใช้กับสไลด์ทุกหน้า ให้คลิกที่ปุ่ม “Apply to all slides” *** คลิกปุ่ม Play เพื่อทดสอบ Transition ที่สร้างไว้

สไลด์ที่ใส่ Transition แล้วจะมีสัญลักษณ์บอก

9.2 : การยกเลิก Transition 1. (ที่ Slide pane) เลือกสไลด์ 2. ที่แท็บ Slide Transition เลือก “No transition” ( หากต้องการยกเลิกทั้งหมด คลิกที่ Apply to all slides ) บทที่ 9 : Slide Transition, Custom Animation [37]

9.3 : การใส่ Custom Animation Custom Animation คล้าย Transition เพียงแต่ Custom Animation ใช้กับการแสดงองค์ประกอบ ทีละตัวหรือ หลายตัวพร้อมกัน ในสไลด์หน้าเดียว การใส่ Custom Animation ให้องค์ประกอบ 1. เลือกองค์ประกอบ เช่น ภาพ หรือ รูปวาด 2. (ที่ Task pane ) แท็บ Custom Animation > คลิกปุ่ม Add...

จะปรากฎหน้าต่าง ให้เลือกเอฟเฟ็คของ Custom Animation ซึ่งมีเป็นร้อยรูปแบบ

3. ทำาซำ้าวนข้อ 1 และ 2 หากต้องการใส่ Custom Animation ให้กับองค์ประกอบอื่นๆ

[38] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

9.4 : การปรับแต่ง Custom Animation ต่อจากข้อ 9.3 หลังจากใส่ Custom Animation ให้กับองค์ประกอบ แต่ละตัวแล้ว จากนั้น เราสามารถปรับแต่งรายละเอียดเพิ่มเติมได้ดังนี้ 1. เลือกองค์ประกอบที่ต้องการจะปรับแต่ง Custom Animation 2. กำาหนดรายละเอียดของเอฟเฟ็ค (Effect : ชื่อเอฟเฟ็ค) กรอบ Start ใช้กำาหนดให้องค์ประกอบเริ่มแสดงอย่างไร On click แสดงเมื่อมีการคลิก (จะมีรูปตัวชี้เม้าส์อยู่ด้านหน้า) With previous แสดงพร้อมกับองค์ประกอบก่อนหน้า After previous แสดงหลังจากองค์ประกอบก่อนหน้า โดยสามารถ กำาหนดเวลาได้ (มีรูปนาฬิกาอยู่ด้านหน้า ) 3. ปรับแต่งเอฟเฟ็คเพิ่มเติม โดยคลิกที่ปุ่ม (Effect option) เช่น ตั้งเวลา, ทิศทางการเคลื่อนที่ , การเล่นเสีย ง, การแสดงซำ้า เป็นต้น

4. เลือก Speed (ความเร็วในการแสดง) 5. เปลี่ย นลำา ดับการแสดงองค์ประกอบโดย คลิกที่ปุ่ม “Change order”

ทำาซำ้าข้อ 1-4 เพื่อปรับแต่ง Custom Animation ให้กับองค์ประกอบ อื่นๆ

9.5 : เอฟเฟ็ค Motion paths เอฟเฟ็ค Motion paths เป็นเอฟเฟ็ค ที่ช้ทำาให้องค์ประกอบเคลื่อนไปตามเส้นพาธ(เส้นชนิดหนึ่ง) หรือเคลื่อนไปตาม เส้นทางที่กำาหนด การใส่เอฟเฟ็ค Motion paths 1. ที่ Task pane > แท็บ Custom Animation > คลิกที่ปุ่ม Add... จะปรากฎหน้าต่าง Custom Animation 2. ที่แท็บ Motion paths เลือกรูปแบบของเส้นพาธตามต้องการ บทที่ 9 : Slide Transition, Custom Animation [39]

Impress มี Motion paths หรือ มีเส้นแนวในการเคลื่อนองค์ประกอบ มาให้แล้วจำานวนหนึ่ง ซึ่งสามารถปรับแต่งได้ หลังจากที่ Add Motion path นัน้ ๆเข้ามาแล้ว โดยใช้ Edit Points toolbar

การเปิด Edit Points toolbar ให้ไปที่ View > Toolbar > Edit Points

[40] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

บทที่ 10 : การแสดงสไลด์ 10.1 : แสดงพรีเซ้นเทชั่นแบบ 2 หน้าจอด้วย Presenter Console การแสดงพรีเซ้นเทชั่นแบบ 2 หน้าจอ โดย หน้าจอที่ 1 ฉายสไลด์ หน้าจอที่ 2 ควบคุมการแสดงผล

การจะกำาหนดให้ Impress แสดงหน้าจอดังกล่าวได้ จะต้องติดตั้งส่วนเสริม (Extension)เพิ่มเติม ที่ชื่อว่า Presenter Console จึงจะแสดงพรีเซ้นเตชั่นแบบดังกล่าวได้ โดยปกติ Presenter Console จะมีมาให้แล้ว ไม่ต้องติดตั้งเพิ่มเติม หาก ไม่มี ให้ไปดาวน์โหลดส่วนเสริม Presenter Console ได้ที่ https://launchpad.net/ubuntu/precise/amd64/libreoffice-presenter-console/1.1.0+LibO3.5.30ubuntu1 ไฟล์ทีได้มาจะเป็น libreoffice-presenter-console_1.1.0+LibO3.5.3-0ubuntu1_amd64.deb ไฟล์นี้เป็น Presenter Console สำาหรับ Ubuntu 64 บิต ติดตั้งผ่าน Ubuntu ตามปกติ ก็คือ ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ แล้วโปรแกรมจะติดตั้ง ให้อัตโนมัติ ตรวจสอบการติดตั้งได้ที่ Tool > Extension Manager... จะปรากฎหน้าต่าง Extension Manager

หน้าต่าง Extension Manager ปรากฏส่วนเสริม Presentor console

จอที่1 : แสดง Presenter Console

จอที่ 2 : แสดง Slide show

บทที่ 10 : การแสดงสไลด์ [41]

10.2 : การตั้งค่าแสดงสไลด์ (Slide show settings) หากต้องการ กำาหนดให้แสดงสไลด์ที่จอใด(กรณีต่อ 2 จอ) หรือ กำาหนดตัวชี้เม้าส์ เป็นต้น สามารถกำาหนดได้ที่ Slide Show > Slide Show Settings... จะปรากฎหน้าต่าง Slide show ให้ตั้งค่า

10.3 : การเลือกสีปากกาหรือขนาดปากกาขณะแสดงสไลด์ ต่อจากข้อ 10.2 ขณะแสดงสไลด์หากต้องการให้ตัวชี้เม้าส์เปลี่ยนเป็นปากกาเพื่อวาด ที่ หน้าต่าง Slide show ต้อง เลือกที่ Mouse pointer as pen การเปลี่ยนสีปากกาขณะแสดงสไลด์ สามารถทำาได้โดย ที่หน้าจอแสดงสไลด์ > คลิกขวาที่สไลด์ > เลือก Change Pen Color... > จะปรากฏหน้าต่างให้เลือกสีปากกา

คลิกขวาที่สไลด์ > เลือก Change Pen Color... > จะปรากฏหน้าต่างให้เลือกสีปากกา

[42] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

10.4 : แสดงสไลด์อัตโนมัติ การแสดงสไลด์อัตโนมัติ ก็คือ การทำาให้สลได์เปลี่ยนหน้าเอง อย่างอัตโนมัติตามกำาหนดเวลา 1. ใส่ Transition ให้กับทุกสไลด์ 2. ที่ (Task pane) Slide transition กรอบ Advance slide ให้เปลี่ยนจาก “On mouse click” เป็น “Automatically after” และใส่เวลาในการเปลี่ยนสไลด์ลงไปในช่อง (หน่วยเป็นวินาที)

3. คลิกปุ่ม Apply to All slides เพื่อกำาหนดให้มีผลกับทุกๆ สไลด์ *** หากใส่ Custom Animation ให้กับสไลด์ใดๆไว้ ต้องไปเปลี่ยนการแสดงองค์ประกอบในสไลด์เป็นแบบตั้งเวลาด้วย ไม่เช่นนั้นหากถึงสไลด์ดังกล่าว โปรแกรมจะหยุดรอให้เราคลิก 1. ที่ (Task pane) Custom Animation ดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อองค์ประกอบที่ใส่ Custom Animation ไว้ จะปรากฏ หน้าต่าง Effect Options

2. ที่แท็บ Timing ตั้งค่าต่างๆ สำาคัญที่ ช่อง Start ให้เลือกเป็น After previous (ต่อจากองค์ประกอบก่อนหน้า ) และตั้งเวลาใน ช่อง Delay ว่าจะให้องค์ประกอบนี้ แสดงต่อจากอันก่อนหน้านี้ห่างกันเป็นเวลาเท่าไร เมื่อตั้งแล้ว สัญลักษณ์ที่หน้าชื่อองค์ประกอบจะเปลี่ยนเป็นรูปนาฬิกา *** ทำา อย่างนี้กับทุกองค์ประกอบที่ใส่ Custom Animation ไว้

ก่อนปรับยังเป็น On click

หลังปรับเป็น After previous

บทที่ 10 : การแสดงสไลด์ [43]

บทที่ 11 : การพิมพ์(Printing)และการส่งออก(Exporting) 11.1 : การพิมพ์สไลด์ ไปที่ File > Print... 1. ที่แท็บ General กำาหนดสิ่งที่ต้องการจะพิมพ์ ( Slide , Handout , Notes หรือ Outline )

2. ที่แท็บ Page Layout กำาหนดจำานวนสไลด์ต่อ 1 หน้ากระดาษ

เลือก Pages per sheet เป็น Custom จะกำาหนดรายละเอียดได้มากกว่าอย่างอื่น เช่น กำาหนดจำานวนสไลด์ ต่อ หน้าได้อย่างอิสระ, กำาหนดแนวการวางกระดาษ, กำาหนดเส้นขอบ, กำาหนดระยะห่าง เป็นต้น

3. คลิกที่ Print เพื่อพิมพ์

[44] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

11.2 : การพิมพ์เป็นไฟล์ ไปที่ File > Print... > แท็บ Options เลือก “Print to file” ปุ่ม “Print” จะเปลี่ยนเป็น เมื่อคลิกจะปรากฎหน้าต่างมาให้ตั้งชื่อไฟล์ที่ต้องการจะ พิมพ์ *** ก่อนพิมพ์ลงบนกระดาษ ควรทดสอบพิมพ์เป็นไฟล์ก่อน เพราะจะได้ไม่ต้องพิมพ์เสียบ่อยๆ (ลดใช้กระดาษ ลดโลก ร้อน)

11.3 : การพิมพ์ Handout โหมด Handout เป็นโหมดที่ใช้ออกแบบสไลด์ก่อนพิมพ์ มีข้อดีที่สามารถใส่เลขหน้า ใส่ข้อความเพิ่มเติม หรือตกแต่ง เพิ่มเติมได้อย่างอิสระ ต่างจากการพิมพ์สไลด์ตามปกติที่ไม่สามารถตกแต่งได้ การตกแต่ ง Handout ให้เข้าสู่ โหมด Handout ก่อน โดยคลิ กแท็บ Handout ที่พื้นที่ทำา งาน โหมด Handout มี ลักษณะคล้าย Slide Master และ Notes Master การตกแต่งก็เหมือนกัน ดูเพิ่มเติมในหัวข้อ 11.4 หลังจากตกแต่งแล้ว หากจะพิมพ์ให้ไปที่ File > Print... 1. ที่แท็บ General กำาหนดสิ่งที่ต้องการจะพิมพ์ เป็น Handout 2. ที่แท็บ General กำาหนด Slides per page ตามต้องการ (จำานวนสไลด์ต่อ 1 หน้า)

*** การพิมพ์ Handout โปรแกรมมี Layout มาให้ 6 แบบด้วยกัน (Slide per page) ก็คือ แบบ 1,2,3,4,6, และ 9 หน้าสไลด์ต่อ 1 หน้ากระดาษ

บทที่ 11 : การพิมพ์(Printing)และการส่งออก(Exporting) [45]

11.4 : การจัดหน้า Handout (ก่อนพิมพ์ ) การจัดหน้า Handout ก่อนพิมพ์ สามารถทำา ได้เช่นเดีย วกับ การจัดหน้า Slide Master และการจัดหน้า Notes Master 1. ที่พื้นที่ทำางาน คลิกที่แท็บ Handout เพื่อเข้าสู่โหมด Handout 2. ที่ (Task pane) หน้าต่าง Layout เลือก Layout (จำานวนสไลด์ต่อหน้ากระดาษ) ให้กับ Handout (มีอยู่ 6 แบบ)

3. ตกแต่ง Handout ได้ตามต้องการ (วิธีการเดียวกับการจัดหน้า Notes Master ) เช่น กำาหนดหัวข้อความ, เลข หน้า, วันที่, ขีดเส้น, แทรกภาพโลโก้ เป็นต้น

11.5 : การพิมพ์โน้ต ไปที่ File > Print... 1. ที่แท็บ General กำาหนดสิ่งที่ต้องการจะพิมพ์เป็น Notes การพิมพ์โน้ต Impress มี Layout มาให้รูปแบบเดียว ก็คือ ด้านบนเป็นสไลด์ ด้านล่างเป็นโน้ต

[46] [email protected], www.facebook.com/wasankds, www.poeclub.org

2. การพิมพ์โน้ต 1 สไลด์/1 หน้ากระดาษ ใช้กระดาษมากเกินไป เราสามารถกำาหนดจำานวนโน้ตต่อหน้ากระดาษ เป็นอย่างอื่นได้ที่แท็บ Page Layout โดยกำาหนดจำานวน โน้ตต่อ 1 หน้ากระดาษ

พิมพ์ 2 โน้ต/1 หน้ากระดาษ

11.6 : ส่งสไลด์ออกเป็นไฟล์ .SWF (Flash) ไฟล์ .SWF สามารถเปิดด้วย Web browser ได้ จึงสามารถนำา Impress ไปเผยแพร่ผ่าน Web ได้เป็นอย่างดี 1. ไปที่ File > Export … จะปรากฎหน้าต่าง Export 2. ตั้งชื่อไฟล์ และเลือกประเภทไฟล์(File Format) เป็น Macromedia Flash (SWF) (.swf) 3. Save

11.7 : ส่งออกสไลด์เป็นไฟล์เป็น HTML ไฟล์ .HTML เป็นไฟล์ Web page สามารถเปิดได้ด้วย Web browser 1. ไปที่ File > Export … จะปรากฎหน้าต่าง Export 2. เลือกประเภทไฟล์(File Format) เป็น HTML Document (ให้เลือกตำาแหน่งเก็บไฟล์ HTML เป็นโฟลเดอร์ที่สร้าง เตรียมไว้โดยเฉพาะ เพราะเมื่อส่งออกมาแล้ว จะมีหลายไฟล์)

3. คลิกที่ Export... จากนั้น จะมีหน้าต่าง HTML Export wizard เพื่อให้ออกแบบไฟล์ HTML

บทที่ 11 : การพิมพ์(Printing)และการส่งออก(Exporting) [47]

บทที่ 12 : TIP 12.1 : ดาวน์โหลด Template เพิ่มเติม Slide Master ที่มีให้เลือกใช้อาจมีน้อยไป เราสามารถดาวน์โหลด Tempate หรือ แม่แบบเอกสารสำาเร็จรูป มาใช้งาน ได้ โดยดาวน์โหลดได้ที่ http://templates.libreoffice.org/template-center

12.2 : การบันทึก Template หลังจากปรับแต่งสไดล์ จนเสร็จแล้ว สามารถบันทึกเป็น Template เก็บไว้ใช้ได้ 1. เปิดไฟล์พรีเซ้นเทชั่น(.ODP) ที่ต้องการสร้าง Template 2. ไปที่ File > Templates > Save จะปรากฎหน้าต่าง Templates

3. ที่ ห น้ า ต่ า ง Template ช่ อ ง New template ให้ ตั้ ง ชื่ อ Template ที่ ก รอบ Catagories เลื อ กตำา แหน่ ง เก็ บ Template (ปกติจะเลือกเป็น My Templates ) 4. คลิกที่ OK ไฟล์ Template ที่บันทึกไว้ มีนามสกุล .OTP เก็บอยู่ที่ /home/wasankds/.config/libreoffice/3/user/template (ตรวจสอบตำาแหน่งเก็บ Template ได้ที่ Tool > Options > ที่หัวข้อ LibreOffice > หัวข้อย่อย Path )

12.3 : การสร้างพรีเซ้นเทชั่นจาก Template 1. ไปที่ File > New > Templates and Documents จะปรากฎหน้าต่าง Templates and Documents 2. ที่หน้าต่าง Templates and Documents เลือก Template ที่ต้องการ 3. คลิกที่ Open