ว ธ ต งนาฬ กาทวนเข มหร อตามเข ม

ว ธ ต งนาฬ กาทวนเข มหร อตามเข ม

Download

  • Publications :0
  • Followers :0

ประเพณีทำบุญเนื่องในพระพุทธศาสนา ของ นายเกษม บุญศรี

✍️©️

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

ต่อจากน้นั นั่งพับเพยี บประนมมือ ฟงั พระอุปชั ฌายะบอก อนุศาสน์ ไปจนจบแล้วรบั ว่า “อามะ ภันเต” แลว้ กราบ ๓ หน ถวายไทยทาน กรวดนำ�้

จบวธิ อี ปุ สมบทแบบเอสาหงั

อนศุ าสน์ ๘ อย่าง

คือ ค�ำสอนที่อุปัชฌาย์หรือกรรมวาจาจารย์บอกแก่ภิกษุ ใหม่ในเวลาอปุ สมบทเสรจ็ ประกอบดว้ ย นสิ ัย ๔ และ อก รณียะ ๔

นิสยั ๔ คอื ปจั จัยเครือ่ งอาศยั ของบรรพชิต

๑. เท่ียวบณิ ฑบาต บรรพชติ อาศยั โภชนะ คือขา้ วอนั หา ไดด้ ว้ ยกำ� ลังปลีแขง้ เธอพงึ ทำ� อุตสาหะ ในสงิ่ น้นั ตลอด ชวี ติ . ลาภเหลอื เฟอื , ภตั ถวายสงฆ,์ ภตั เฉพาะสงฆ์ การนมิ นต์ ภัตถวายตามสลาก ภัตถวายในปักษ์ ภัตถวายในวันอุโบสถ ภตั ถวายในวันปาฏิบท. ๒. นงุ่ หม่ ผา้ บงั สกลุ บรรพชติ อาศยั บงั สกุ ลุ จวี ร. เธอพงึ ทำ� อตุ สาหะ ในสงิ่ นนั้ ตลอดชวี ติ . ลาภเหลอื เฟอื , ผา้ เปลอื กไม้

หนังสอื สวดมนต์ 294

ผา้ ฝา้ ย ผา้ ไหม (แพร) ผา้ ขนสัตว์ ผา้ ปา่ น ผา้ แกมกัน (เชน่ ด้ายแกมไหม). ๓. อยู่โคนไม้ บรรพชติ อาศัยโคนต้นไมเ้ ป็นเสนาสนะ. เธอพึงท�ำอุตสาหะในสิ่งนนั้ ตลอดชีวติ . ลาภเหลอื เฟอื , วิหาร (กุฏิปกติ) เรือนมุงแถบเดียว (เพิง) เรือนช้ัน เรือนโล้น (หลงั คาตัด) ถ้ำ� . ๔. ฉนั ยาดองดว้ ยนำ้� มตู รเนา่ บรรพชติ อาศยั มตู รเนา่ เปน็ ยา. เธอพงึ ทำ� อตุ สาหะในสงิ่ นน้ั ตลอดชวี ติ . ลาภเหลอื เฟอื , เนยใส เนยข้น น�้ำมนั นำ�้ ผ้ึง น้ำ� อ้อย (น�้ำตาล)

อกรณียะ ๔ คอื กจิ ทีไ่ ม่ควรทำ�

๑. เสพเมถุน อันภกิ ษุผ้อู ุปสมบทแล้ว ไม่พึงเสพเมถุน ธรรม โดยที่สุดแม้ในดริ จั ฉานตัวเมีย. ภิกษใุ ดเสพเมถนุ ธรรม, ไม่เป็นสมณะ ไมเ่ ป็นเชือ้ สายพระศากยบตุ ร. เปรยี บเหมอื นบุรุษถูกตดั ศรี ษะ แล้ว ไม่อาจมสี รีระเปน็ อยู่. ภกิ ษุก็เหมอื นกนั เสพเมถนุ ธรรม แลว้ ไมเ่ ปน็ เชอ้ื สายพระศากยบตุ ร. การนนั้ เธอไมพ่ งึ ทำ� ตลอด ชวี ิต ๒. ลกั ของเขา อนั ภิกษุอปุ สมบทแล้ว ไม่พึงถอื เอาของ อันเขาไม่ได้ให้เป็นส่วนขโมย โดยที่สุดหมายเอาถึงเส้นหญ้า

295 ทีพ่ ักสงฆจ์ ันทรังษี

ภิกษุใดถือเอาของ อันเขาไม่ได้ให้เป็นส่วนขโมย บาทหนึ่งก็ ดี ควรแก่ บาทหนึง่ ก็ดี เกนิ บาทหน่งึ กด็ ,ี ไมเ่ ป็นสรณะ ไม่ เปน็ เชอ้ื สายพระ ศากยบตุ ร. เปรยี บเหมอื นใบไมเ้ หลอื ง หลน่ จากขว้ั แล้วไมอ่ าจจะ เปน็ ของเขยี วสด ภิกษุกเ็ หมือนกนั ถือ เอาของอันเขาไมไ่ ดใ้ หเ้ ปน็ สว่ นขโมย บาทหนง่ึ กด็ ี ควรแกบ่ าท หน่งึ กด็ ี เกินบาทหนง่ึ ก็ดี, แลว้ ไม่เป็นสรณะ ไม่เป็นเชอื้ สาย พระศากยบตุ ร. การนัน้ เธอไม่พงึ ท�ำตลอดชีวิต ๓. ฆา่ สตั ว์ อนั ภกิ ษอุ ปุ สมบทแลว้ ไมพ่ งึ แกลง้ พรากสตั ว์ จากชวี ติ โดยท่ีสดุ หมายเอาถงึ มดดำ� มดแดง. ภกิ ษุใด แกล้ง พรากกายมนษุ ยจ์ ากชวี ติ โดยทสี่ ดุ หมายเอาถงึ ครรภใ์ หต้ ก, ไม่ เปน็ สรณะ ไม่เปน็ เชอ้ื สายพระศากยบุตร. การนัน้ เธอไม่พึง ท�ำตลอดชีวิต ๔. พดู อวดคณุ วเิ ศษทไ่ี มม่ ีในตน อันภกิ ษอุ ปุ สมบท แล้ว ไม่ควร พูดอวดอุตตริมนุสสธรรมโดยท่ีสุดว่าเรายินดี ในเรือนร้าง, ภิกษุใดมีความอยากอันลามกครอบง�ำแล้ว พูด อวดอุตตรมิ นสุ สธรรม อันไมม่ ีอยู่ อนั ไม่เป็นจรงิ , คือ ฌานก็ ดี วโิ มกขก์ ด็ ี สมาธิกด็ ี สมาบัติกด็ ี มรรคก็ดี ผลก็ด,ี ไม่เป็น สมณะ ไมเ่ ป็นเชื้อสายพระศากยบตุ ร. เปรียบ เหมือนต้นตาล มยี อดด้วนแล้ว ไมอ่ าจจะงอกอกี , การน้นั เธอไม่พงึ ทำ� ตลอด ชีวิต พระผูม้ ีพระภาคเจ้า ผ้รู ูผ้ ูเ้ ห็นเป็นพระอรหนั ต์ ตรสั รู้ชอบ

หนังสอื สวดมนต์ 296

เอง พระองคน์ ั้น ตรัสศีลไวโ้ ดยชอบทำ� แลว้ ตรัสสมาธิไว้โดย ชอบทำ� แลว้ ตรัสปัญญาไวโ้ ดยชอบทำ� แล้ว โดยหลายขบวน. เพียงเพ่ือท�ำให้แจ้ง ซ่ึงพระนิพพานน้ันอันเป็นทางย�่ำยีความ เมาเสีย เป็นทางน�ำความอยาก เสีย เป็นทางถอนอาลัยข้ึน เสยี เป็นทางเขา้ ไปตัดวนเสยี เป็นทางส้ินแหง่ ตณั หา เปน็ ทาง ฟอกจติ เป็นทางดับทกุ ข์ ในศลี สมาธิ ปญั ญานน้ั สมาธอิ นั ศลี อบรมแลว้ มผี ล ใหญ่ มอี านิสงส์ใหญ.่ ปัญญาอันสมาธอิ บรมแลว้ มีผล ใหญ่ มีอานสิ งสใ์ หญ่. จติ อนั ปัญญาอบรมแล้ว ย่อม พน้ จากอาสวะโดยชอบ. คอื จากอาสวะ คอื ความอยากได้ จากอาสวะ คือความอยากเป็นจากอาสวะ คอื ความไมร่ ู้ เพราะเหตนุ นั้ แล เธอพงึ ศกึ ษาสกิ ขา คอื ศลี ยง่ิ อยา่ งเคารพ, พงึ ศกึ ษาสกิ ขา คอื จติ ยงิ่ อยา่ งเคารพ, พงึ ศกึ ษาสกิ ขาคอื ปญั ญา ย่ิงอย่างเคารพ ในพระธรรมวินัยอันพระตถาคตตรัสประกาศ ฉะน้.ี พงึ ให้ถึงพรอ้ มดว้ ยความไมป่ ระมาทในนั้นเทอญ.

วิธีลาสิกขา

เมอ่ื ถงึ กำ� หนด พระสงฆผ์ จู้ ะนงั่ เปน็ พยานเขา้ ประชมุ พรอ้ ม กันภิกษุผู้จะต้องการลาสิกขา พึงแสดงอาบัติเม่ือแสดงอาบัติ หมดจดดีแล้ว พาดผา้ สังฆาฏเิ ข้าไปนงั่ กระหย่งหนั หนา้ ตรงตอ่

297 ท่ีพักสงฆจ์ ันทรงั ษี

พระพทุ ธรูป กราบลงดว้ ยเบญจางคประดิษฐ์ ๓ หน ประณม มอื เปลง่ วาจา “นโม” ๓ จบแล้ว กล่าวอดีตปัจจเวกขณ์ท้งั ๔ ปัจจยั พอให้สงฆไ์ ด้ยนิ (ถา้ ผ้สู กึ หลายรปู ว่าพร้อมกันก็ดี) เม่ือจบแล้วผินหน้าไปทางพระสงฆอ์ งค์พยาน กราบลง ๓ หน เปล่งวาจาทั้งอรรถท้ังแปล พร้อมด้วยเจตนาที่จะละเพศออก เป็นคฤหสั ถ์ คราวละคนว่า “สิกขัง ปัจจกั ขามิ” “ขา้ พเจ้า ขอลาสิกขา” “คิหีติ มงั ธาเรถะ” ขอท่านท้ังหลายจงจ�ำ ข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์” ถ้าความรู้สึกใจดิ่งเที่ยงลงว่าเป็น คฤหสั ถ์แนแ่ ลว้ กล่าว ๓ จบกไ็ ด้ แต่ถ้าใจยังไมแ่ นว่ แน่พอจะ ว่ากคี่ รัง้ ก็ได้ วา่ ไปจนตกลงใจ เมื่อวา่ ไปจนปลงใจแลว้ กราบ สงฆ์ ๓ หน ออกไปพลัดผา้

อติสตี ํ อตอิ ณุ ฺห ํ อตสิ ายมทิ ํ อหุ อติ ิ วสิ ฺสฏฺฐกมมฺ นเฺ ต ตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเว. ประโยชน์ทง้ั หลายยอ่ มล่วงเลยคนผทู้ อดท้งิ การงาน ดว้ ยอ้างว่าหนาวนัก รอ้ นนัก เย็นเสียแล้ว. ทฆี กนิกาย ปาฏิกวคฺค

หนงั สือสวดมนต์ 298

หมวดวนิ ยั กรรม

วิธีทำ� พินทุกัปปะ (๑) (๒) (๔)

เป็นธรรมเนียมของภิกษุจะนุ่งห่มผ้าใหม่ ต้องท�ำจุดหรือ แวววงกลมที่เอกเทศแหง่ ผา้ ขนาดไม่เลก็ กว่าหลังตัวเรอื ดไม่ ใหญก่ วา่ แววตานกยงู หมายเพ่อื จะใหจ้ ำ� ไดห้ รอื เพอื่ ทำ� ใหเ้ สยี สี ไมท่ ำ� อยา่ งนน้ั กอ่ นนงุ่ หมุ่ มสิ กิ ขาบทปรบั อาบตั ปิ าจติ ตยี ์ (ใน สกิ ขาบทท่ี ๘ แห่งสรุ าปานวรรค) เมือ่ จะทำ� พึงเปลง่ วาจา หรือ ผกู ใจขณะท่ีท�ำอยูว่ ่า

“อิมํ พนิ ทฺ ุกปฺปํ กโรมิ”

.....................................

อธิษฐาน (๑) (๓) (๔)

อธษิ ฐานมี ๒ คอื ๑. อธิษฐานด้วยกาย เอามือจับหรือลูบบริขารท่ีจะ อธิษฐานแลว้ ทำ� ความผูกใจตามคำ� อธษิ ฐาน ๒. อธษิ ฐานดว้ ยวาจา คอื ลน่ั ค�ำอธษิ ฐาน ไมถ่ กู ของ ด้วยกายก็ได้ แจกออกเป็น ๒ คอื

(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา้ ๒๒๗, ๔๔๖-๔๖๖ (๒) วินัยมขุ เล่ม ๑ หนา้ ๑๖๔-๑๖๕ (๓) วินัยมขุ เลม่ ๒ หนา้ ๑๖๐-๑๖๕ (๔) อปุ สมบทวธิ ี หน้า ๕๑-๕๔

299 ทพี่ กั สงฆ์จันทรงั ษี

๒.๑ อธษิ ฐานในหัตถบาส ของอยู่ภายใน ๒ ศอกคืบ หรอื ศอก ๑ ในระหวา่ ง ๒.๒ อธษิ ฐานนอกหตั ถบาส ของอยู่หา่ งตัวเกนิ ๒ ศอกคบื หรือศอก ๑ ในระหว่าง

ค�ำอธษิ ฐานบรขิ ารตา่ งๆ

คำ� อธษิ ฐานบริขารส่ิงเดยี วในหัตถบาส วา่ ดังนี้ สังฆาฏิ (ผา้ ทาบ) “อมิ ํ สงฺฆาฏึ อธิฏฺ าม”ิ อุตตราสงค์ (ผา้ ห่ม) “อิมํ อตุ ฺตราสงคฺ ํ อธิฏฺามิ” อนั ตรวาสก (ผา้ นุ่ง) “อมิ ํ อนตฺ รวาสกํ อธิฏฺ าม”ิ บาตร “อมิ ํ ปตตฺ ํ อธฏิ ฺ ามิ” ผ้านิสที นะ (ผา้ ปูนงั่ ) “อมิ ํ นิสีทนํ อธฏิ ฺ าม”ิ ผา้ ปิดฝี “อิมํ กณฺฑุปฏิจฉฺ าทึ อธิฏฺ ามิ” ผา้ อาบน�ำ้ ฝน “อมิ ํ วสสฺ ิกสาฏิกํ อธฏิ ฺ ามิ” ผา้ ปูนอน “อมิ ํ ปจฺจตถฺ รณํ อธฏิ ฺาม”ิ ผา้ เช็ดหนา้ เช็ดปาก “อมิ ํ มุขปุญฉฺ นโจลํ อธิฏฺ ามิ” ผา้ เปน็ บรขิ าร “อิมํ ปริกขฺ ารโจลํ อธิฏฺ าม”ิ

ถา้ จะอธษิ ฐานผ้าหลายผนื ควบกนั ใหว้ ่าดังนี้ :- ผ้าปูนอน “อมิ านิ ปจฺจตถฺ รณานิ อธฏิ ฺฐามิ” ผา้ เชด็ หนา้ เชด็ ปาก “อมิ านิ มขุ ปุ ฺ ฉนโจลานิ อธฏิ ฺ าม”ิ

หนังสอื สวดมนต์ 300

ผา้ เปน็ บริขาร “อิมานิ ปรกิ ขฺ ารโจลานิ อธิฏฺ ามิ” ถ้าของอยูห่ า่ งตวั พงึ ใชอ้ ธิษฐานนอกหัตถบาสล่นั วาจา ตามแบบนน้ั แตเ่ ปลย่ี นบทวา่ “อมิ ํ” เปน็ “เอต”ํ เปลี่ยน บทวา่ “อมิ าน”ิ เปน็ “เอตาน”ิ เมื่อจะอธิษฐาน ถ้าเป็นบริขารที่ก�ำหนดให้มีแต่สิ่งเดียว ของเดิมมีอยู่แล้ว จะเปลี่ยนใหม่ต้องเลิกของเดิมเสียก่อน ยกเลิกบรขิ ารเดมิ ท่านเรยี กว่า ปัจจทุ ธรณ์ หรือถอนอธิษฐาน มีแบบวางไว้ แสดงผ้าสังฆาฏเิ ปน็ ตวั อยา่ ง วา่ ดงั นี้ “อมิ ํ สงฆฺ าฏึ ปจจฺ ทุ ฺธรามิ” ยกเลิกบริขารอื่น พึงเปล่ียนตามช่ือถ้าเป็นบริขารที่จะใช้ น่งุ หม่ พึงยอ้ มให้ไดส้ ี และท�ำพินทกุ ปั ปะ ตามแบบอนั กล่าว แลว้ กอ่ นจงึ อธษิ ฐาน

วิกัป (๑) (๒) (๓) (๔)

ผ้านอกจากของอธิษฐานมีประมาณเพยี งยาว ๘ นิ้ว กว้าง ๔ นิ้ว พอเปน็ ชิ้นใช้ประกอบเป็นจีวรได้ เรยี กวา่ อติเรกจวี ร ภกิ ษุมเี ปน็ สิทธิของตนได้เพียง ๑๐ วนั มเี กนิ ก�ำหนดนั้นไปมี

(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา้ ๔๕๔-๔๖๖ ท่ีพักสงฆจ์ ันทรังษี (๒) วนิ ยั มุข เลม่ ๑ หนา้ ๑๖๖-๑๖๙ (๓) วนิ ัยมุข เลม่ ๒ หน้า ๑๖๕-๑๖๗ (๔) อปุ สมบทวิธี หน้า ๕๔-๕๖

301

สกิ ขาบทปรบั อาบตั ปิ าจติ ตยี ท์ ใ่ี หส้ ละของนน้ั เสยี ภกิ ษปุ รารถนา จะเอาไวใ้ ช้ นอกจากการอธษิ ฐาน พงึ ทำ� ใหเ้ ปน็ ของ ๒ เจา้ ของ ในระหว่างตนกบั ภิกษุอ่นื เรียกวา่ วกิ ปั วิกัปแก่สามเณรท่านก็ อนุญาต แต่ท�ำกันมากในระหว่างภิกษดุ ้วยกัน วิกปั มี ๒ คือ ๑. วิกปั ตอ่ หน้า คอื วิกปั ต่อหน้าผู้รับในหัตถบาส จวี รผืนเดยี ว วา่ “อมิ ํ จวี รํ ตุยฺหํ วกิ ปฺเปมิ” จวี รหลายผืน ว่า “อมิ านิ จีวรานิ ตุยหฺ ํ วกิ ปฺเปม”ิ บาตรใบเดยี ว ว่า “อิมํ ปตตฺ ํ ตยุ ฺหํ วกิ ปฺเปม”ิ บาตรหลายใบ ว่า “อิเม ปตเฺ ต ตุยฺหํ วิกปเฺ ปม”ิ ๒. วิกัปลับหลัง คือ วกิ ปั ให้สหธรรมิกรปู ใดรูปหนึง่ ผไู้ มไ่ ดอ้ ยเู่ ฉพาะหนา้ ลน่ั วาจาตอ่ หนา้ สหธรรมกิ รปู อนื่ ในทน่ี ้ี จักไมข่ อกล่าวโดยละเอยี ด ในทางปฏบิ ตั ทิ ่ีทำ� กันมา ใช้วิกปั ตอ่ หนา้ ก็เพยี งพอให้สำ� เร็จประโยชน์ตามตอ้ งการได้แลว้ วิกัปต่อหน้า ถา้ ของอยนู่ อกหัตถบาส ให้ว่า “อิตํ” แทน “อมิ ํ” “เอตานิ” แทน “อิมาน”ิ “เอเต” แทน “อเิ ม” จีวรทวี่ กิ ปั ไว้ จะบรโิ ภคตอ้ งขอให้ผูร้ ับถอนกอ่ น ไมท่ �ำ อย่างน้ันแลว้ บรโิ ภค มสี กิ ขาบทปรับอาบตั ปิ าจิตตยี ์

หนังสือสวดมนต์ 302

ค�ำถอนวกิ ัปตอ่ หน้า ในหัตถบาส วา่ ดงั น้ี :- ผ้ถู อนแก่กวา่ จวี รผืนเดียว “อิมํ จวี รํ มยหฺ ํ สนตฺ กํ ปริภุญชฺ วา วิสชฺเชหิ วา ยถาปจจฺ ยํ วา กโรห”ิ จีวรหลายผนื “อมิ านิ จวี รานิ มยหฺ ํ สนฺตกานิ ปรภิ ญุ ชฺ วา วิสชเฺ ชหิ วา ยถาปจจฺ ยํ วา กโรหิ” ผู้ถอนออ่ นกว่า จวี รผนื เดียว “อมิ ํ จีวรํ มยฺหํ สนฺตกํ ปรภิ ญุ ชฺ วา วิสชฺเชหิ วา ยถาปจฺจยํ วา กโรถ” จวี รหลายผนื “อมิ านิ จีวรานิ มยหฺ ํ สนฺตกานิ ปรภิ ุญฺชถ วา วิสชเฺ ชถ วา ยถาปจฺจยํ วา กโรถ” ถา้ ถอนนอกหัตถบาส พึงเปลีย่ น “เอต”ํ แทน “อมิ ํ” “เอตาน”ิ แทน “อมิ าน”ิ นอกน้นั คงว่าอยา่ งเดยี วกนั กับถอนในหตั ถบาส บาตรทว่ี กิ ปั ไวแ้ ลว้ ไมม่ กี ำ� หนดใหถ้ อนกอ่ นจงึ บรโิ ภค พงึ ใช้ เปน็ ของวกิ ปั เถดิ แตเ่ มอ่ื จะอธษิ ฐานพงึ ใหถ้ อนกอ่ น คำ� ทจ่ี ะพงึ ใชเ้ ปลย่ี นแปลงไปตามชอื่ ของกด็ ี ตามจำ� นวนของกด็ ี ตามฐานะ ที่ของต้ังอยกู่ ็ดี พึงเทยี บเคียงกบั ค�ำถอนวกิ ัปจวี รเถิด

303 ท่พี กั สงฆ์จันทรงั ษี

คำ� เสียสละไตรจวี รล่วงราตรี (๑)

จวี รเป็นนสิ สคั คยี ์ เพราะอยปู่ ราศจากเขตล่วงราตรนี ั้น พึงสละแกส่ งฆ์กไ็ ด้ แก่คณะกไ็ ด้ แก่บุคคลก็ได้ คำ� เสียสละแกบ่ ุคคล ว่าดังนี้ :- “อิทํ เม ภนฺเต จวี รํ รตฺติวปิ ปฺ วตุ ฺถํ อญฺ ตฺร ภิกฺขุ สมมฺ ติยา นิสฺสคฺคยิ ํ, อมิ าหํ อายสมฺ โต นสิ สฺ ชชฺ ามิ” ถ้าเสยี สละจวี ร ๒ ผนื ว่า “ทวฺ ิจีวร”ํ ถ้าเสียสละทง้ั ๓ ผืน วา่ “ตจิ ีวรํ” ถา้ ผูเ้ สยี สละแก่กว่า พึงว่า “อาวโุ ส” แทน “ภนเฺ ต” จวี รเปน็ นสิ สคั คยี ์ ยงั ไมไ่ ดส้ ละ บรโิ ภคตอ้ งทกุ กฏ สละแลว้ ได้คนื มา ยงั ปรารถนาอยู่ พงึ อธษิ ฐานเปน็ ไตรจวี รใหม่ เมอื่ สละนนั้ พงึ ตงั้ ใจสละใหข้ าด แลว้ จงึ แสดงอาบตั ิ ภกิ ษุ ผู้รับเสียสละนั้น หากจะถือเอาเสียทีเดียวเจ้าของเดิมก็ไม่มี กรรมสิทธิ์ท่ีจะเรียกคืนได้ แต่เป็นธรรมเนียมอันดีของเธอ เมอ่ื รับแลว้ คนื ให้เจ้าของเดมิ ไม่ทำ� อย่างนนั้ ต้องทุกกฏ ค�ำคืนให้ ว่าดงั น้ี :- จวี รผนื เดยี ว “อมิ ํ จวี รํ อายสฺมโต ทมมฺ ”ิ จีวรหลายผืน “อมิ านิ จวี รานิ อายสฺมโต ทมฺม”ิ

(๑) วินัยมขุ เล่ม ๑ หนา้ ๘๔-๘๙

หนงั สือสวดมนต์ 304

ค�ำเสียสละอตเิ รกจวี รล่วง ๑๐ วนั

ค�ำเสยี สละแกบ่ คุ คล ของอยใู่ นหัตถบาส ว่าดงั น้ี :- จวี รผนื เดยี ว “อทิ ํ เม ภนเฺ ต จวี รํ ทสาหาตกิ กฺ นตฺ ํ นสิ สฺ คคฺ ยิ ,ํ อมิ าหํ อายสมฺ โต นิสสฺ ชชฺ าม”ิ จวี รหลายผนื “อมิ านิ เม ภนเฺ ต จวี รานิ ทสาหาตกิ กฺ นตฺ านิ นสิ สฺ คคฺ ยิ าน,ิ อมิ านาหํ อายสมฺ โต นสิ สฺ ชชฺ าม”ิ ถา้ สละของอยนู่ อกหตั ถบาสว่า “เอตํ” แทน “อทิ ”ํ “เอตาหํ” แทน “อิมาหํ” “เอตาน”ิ แทน “อิมานิ” “เอตานาหํ” แทน “อิมานาหํ” ถา้ ผเู้ สยี สละแกพ่ รรษากวา่ ผรู้ บั ใหว้ า่ “อาวโุ ส” แทน “ภนเฺ ต” ค�ำคืนให้ ว่าดงั น้ี :- จีวรผนื เดยี ว “อมิ ํ จวี รํ อายสมฺ โต ทมมฺ ิ” จีวรหลายผืน “อิมานิ จีวรานิ อายสมฺ โต ทมฺม”ิ ถา้ ของอย่นู อกหัตถบาส พงึ เปลย่ี นโดยนัยดงั กลา่ วแลว้ นัน้

โภคทรัพย์ ยอ่ มฆา่ ผู้มปี ัญญาทราม

305 ท่พี ักสงฆจ์ นั ทรังษี

ค�ำเสยี สละอติเรกบาตรลว่ ง ๑๐ วนั

บาตร เป็นของทรงอนุญาตให้เป็นบริขารของภิกษุเฉพาะ ใบเดยี ว เรียกบาตรอธษิ ฐาน บาตรต้ังแต่ใบท่ี ๒ ขึน้ ไป เรียก อติเรกบาตร ภกิ ษุใหล้ ่วง ๑๐ วนั ไป เปน็ นิสสัคคิยปาจิตตีย์ คำ� เสยี สละแก่บุคคล ของอยใู่ นหตั ถบาส วา่ ดังน้ี :- บาตรใบเดยี ว “อยํ เม ภนฺเต ปตฺโต ทสาหาตกิ กฺ นฺโต นสิ สฺ คคฺ โิ ย, อมิ าหํ อายสมฺ โต นิสฺสชฺชามิ” ถา้ ผเู้ สยี สละแกพ่ รรษากวา่ ผรู้ บั ใหว้ า่ “อาวโุ ส” แทน “ภนเฺ ต” คำ� คืนให้ วา่ ดงั น้ี :- บาตรใบเดียว “อมิ ํ ปตฺตํ อายสฺมโต ทมฺมิ”

วธิ ีแสดงอาบัติ

โทษทเ่ี กดิ เพราะความละเมดิ ในขอ้ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ หา้ ม เรียกวา่ อาบตั ิ โดยตน้ เคา้ แบ่งเปน็ ๒ ๑. อเตกจิ ฉาบตั ิ เปน็ อาบตั ทิ แี่ กไ้ ขไมไ่ ด้ เรยี กโดยชอื่ วา่ ปาราชกิ ต้องเข้าแลว้ เป็นขาดจากภิกษุภาพไมม่ ีสงั วาสกบั สงฆอ์ ีก ๒. สเตกจิ ฉาบตั ิ เปน็ อาบตั ทิ ยี่ งั แกไ้ ขได้ แจกออกไปเปน็ ๒ ประการ คอื

หนังสือสวดมนต์ 306

๒.๑ ครุกาบตั ิ เปน็ อาบตั ิหนัก โดยช่ือวา่ สังฆาทเิ สส มีวิธีปลดเปลือ้ งสำ� เรจ็ ดว้ ยสงฆ์ ๒.๒ ลหกุ าบตั ิ เปน็ อาบตั เิ บา ตา่ งโดยชอื่ วา่ ถลุ ลจั จยั ปาจติ ตยี ์ ปาฏเิ ทสะนยี ะ ทกุ กฏ ทพุ ภาสติ เบากวา่ กนั ลงมาโดย ล�ำดบั มีวธิ ปี ลดเปลือ้ งดว้ ยการแสดง คือ เปดิ เผยแก่ภิกษอุ น่ื แมเ้ พียงรปู เดยี วได้ วธิ ีแสดงอาบัติ ๓ อยา่ ง คือ ๑. แสดงอาบัติตัวเดียว วัตถุอย่างเดียว ๒. แสดงอาบตั ิหลายตวั วัตถเุ ดียวกนั ๓. แสดงอาบัติหลายตัว ตา่ งวตั ถุกัน ๑. แสดงอาบตั ิตัวเดยี ว วตั ถุอยา่ งเดียว ผ แู้ สด ง แกก่ ว่า อาวโุ ส ออ่ นกวา่ ว ่า “ อหํ ภนเฺ ต เอก.ํ ......อาปตตฺ ึ อาปนโฺ น ตํ ปฏิเทเสมิ.” ทีล่ งจุดไว้นนั้ ส�ำหรบั ออกชื่ออาบตั ิดังตอ่ ไปน้ี :- ถุลฺลจฺจยํ สำ� หรบั อาบตั ิ ถุลลัจจัย นิสสฺ คฺคยิ ํ ปาจิตฺตยิ ํ ” ปาจิตตยี ท์ ่ีให้สละของ ปาจิตตฺ ิยํ ” ปาจิตตยี ์ล้วน ทกุ กฺ ฏํ ” ทกุ กฏ ทุพฺภาสิตํ ” ทพุ ภาสติ

307 ท่ีพักสงฆ์จนั ทรังษี

๒. แสดงอาบัตหิ ลายตัว วัตถุเดียวกัน ผูแ้ สดง อแอ่กนก่ วก่าว่า ว ่า “ อหํ อาวโุ ส ภนเฺ ต สมฺพหุลา.......อาปตฺตโิ ย อาปนโฺ น ตา ปฏเิ ทเสมิ” ท่ลี งจุดไว้น้นั ออกชอ่ื อาบัตดิ งั ตอ่ ไปน้ี :- ถลุ ฺลจจฺ ยาโย สำ� หรบั อาบตั ิ ถลุ ลัจจัย นิสฺสคคฺ ยิ าโย ปาจิตตฺ ิยาโย ” ปาจติ ตยี ท์ ใี่ หส้ ละของ ปาจติ ฺติยาโย ” ปาจติ ตยี ์ลว้ น ทุกฺกฏาโย ” ทกุ กฏ ทพุ ฺภาสิตาโย ” ทุพภาสิต ๓. แสดงอาบัติหลายตวั ต่างวัตถกุ นั ผู้แ สดง อแ่อกนก่ วกา่ว า่ ว า่ “ อหํ อาวโุ ส ภนฺเต สมฺพหุลา นานาวตฺถุกาโย...อาปตฺติโย อาปนฺโน ตา ปฏิเทเสมิ” ทลี่ งจดุ ไวน้ นั้ สำ� หรบั ออกชอื่ อาบตั ิ ใชช้ อื่ อยา่ งเดยี วกบั ทใี่ ชใ้ น วธิ แี สดงที่ ๒ ยกเวน้ อาบตั ทิ พุ ภาสติ ซงึ่ ตอ้ งเพราะพดู ลอ้ กนั อยา่ งเดยี ว ไมม่ ตี า่ งวตั ถใุ ชแ้ สดงแบบอาบตั หิ ลายตวั วตั ถเุ ดยี วกนั วธิ แี สดงอาบตั ทิ ง้ั ๓ วธิ ี จะตา่ งกนั เฉพาะตอนผแู้ สดง ว่าออกชอื่ อาบตั ิในประโยคแรกเทา่ นน้ั ประโยคตอ่ ไปวา่ เหมือนกัน ดงั นี้ :-

หนงั สือสวดมนต์ 308

ผูร้ บั แก่กว่า พึงวา่ “ปสสฺ สิ้ อาวุโส” อ่อนกว่า พึงว่า “ปสฺสถ ภนฺเต” ผแู้ สดง แกก่ วา่ พึงว่า “อาม อาวโุ ส ปสฺสามิ” อ่อนกว่า พึงว่า “อาม ภนฺเต ปสสฺ าม”ิ ผรู้ บั แกก่ วา่ พงึ ว่า “อายตึ อาวโุ ส สวํ เรยยฺ าส”ิ อ่อนกว่า พงึ วา่ “อายตึ ภนเฺ ต สวํ เรยยฺ าถ” ผ้แู สดง แก่กว่า พงึ ว่า “สาธุ สฏุ ฐฺ ุ อาวโุ ส สวํ รสิ สฺ าม”ิ ออ่ นกวา่ พงึ วา่ “สาธุ สฏุ ฐฺ ุ ภนเฺ ต สวํ รสิ สฺ าม”ิ อาบตั วิ ตั ถเุ ดยี วกนั ภกิ ษตุ อ้ งเหมอื นกนั เชน่ มอี ตเิ รกจวี ร ลว่ ง ๑๐ วนั ดว้ ยกนั เรยี กวา่ สภาคาบตั ิ แปลวา่ อาบตั มิ สี ว่ น เสมอกนั ห้ามไม่ให้แสดง ห้ามไมใ่ หร้ ับตอ่ กนั ถา้ ขืนทำ� ท่าน ปรับทุกกฏท้ังผู้แสดงและผู้รับ แต่ท่านยอมรับว่าอาบัตินั้น เป็นอนั แสดงแลว้ อนง่ึ การแสดงอาบตั ิ ทา่ นใหแ้ สดงโดยควรแกช่ อ่ื แกว่ ตั ถุ แกจ่ ำ� นวน แสดงผดิ ชอ่ื ใชไ้ มไ่ ด้ แสดงผดิ วตั ถุ และผดิ จำ� นวน ข้างมากแสดงเปน็ น้อยใช้ไม่ได้ ข้างนอ้ ยพลัง้ เป็นมาก เชน่ อาบตั ิ ตวั เดยี ว แสดงวา่ “สมพฺ หลุ า” หรอื วตั ถเุ ดยี ว แสดง “นานาวตถฺ กุ าโย” เช่นนีใ้ ชไ้ ด้

309 ที่พกั สงฆจ์ นั ทรังษี

อาการทีภ่ กิ ษุจะตอ้ งอาบัติมี ๖ อย่างคือ

๑. ตอ้ งด้วยไม่ละอาย ๒. ตอ้ งดว้ ยไม่รู้วา่ ส่ิงนจี้ ะเป็นอาบัติ ๓. ตอ้ งด้วยสงสยั แล้วขืนท�ำ ๔. ตอ้ งดว้ ยสำ� คัญว่าควรในของท่ีไม่ควร ๕. ตอ้ งด้วยส�ำคัญวา่ ไมค่ วรในของที่ควร ๖. ตอ้ งดว้ ยลืมสติ

นสิ ยั (๑) (๒) (๓)

ภกิ ษมุ พี รรษาหยอ่ น ๕ จดั เปน็ นวกะผใู้ หม่ ตอ้ งถอื ภกิ ษุ รปู ใดรปู หนงึ่ เปน็ อปุ ชั ฌายะ และอาศยั ภกิ ษรุ ปู นนั้ อยรู่ บั โอวาท อนุศาสน์ของภิกษุน้ัน ในคร้ังแรกที่ทรงอนุญาตอุปัชฌายะ ภิกษุผู้อุปสมบทอยู่แล้ว แต่หย่อน ๕ พรรษา ก็จ�ำถือ อปุ ัชฌายะ คำ� ขอนิสยั อปุ ชั ฌายะ วา่ ดังนี้ :- “อปุ ชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ” ๓ หน

(๑) บพุ พสิกขาวรรณนา หน้า ๓๙๓-๔๐๑ (๒) วินยั มขุ เล่ม ๒ หน้า ๔๒-๕๑ (๓) อปุ สมบทวิธี หน้า ๑๐

หนงั สือสวดมนต์ 310

เมื่อภิกษุผู้ท่ีนวกะน้ันขออาศัยรับว่า “สาหุ”, “ลหุ” “โอปายกิ ”ํ , “ปฏริ ปู ”ํ , “ปาสาทเิ กน สมปฺ าเทห”ิ บทใดบทหนง่ึ ๓ ครั้ง เว้นระยะให้ภิกษุผู้ขอนสิ ัยตอบรบั วา่ “สาธุ ภนเฺ ต” ทกุ บทไป เปน็ อันถอื อุปัชฌายะแล้ว ภิกษผุ รู้ บั ให้พงึ่ พงิ ได้ ชือ่ วา่ “อปุ ัชฌายะ” ภกิ ษผุ ู้พึง่ พิงไดช้ อ่ื ว่า “สทั ธวิ หิ าริก” กิรยิ าท่ีพงึ่ พิงเรยี กว่า “นิสัย” แต่นัน้ ผขู้ อนสิ ัยพึงกล่าวรับเป็นธุระใหท้ า่ นสืบไปวา่ “อชชฺ ตคฺเคทานิ เถโร, มยฺหํ ภาโร, อหมปฺ ิ เถรสสฺ ภาโร” ๓ หน ภิกษผุ ไู้ มไ่ ดอ้ ยใู่ นปกครองของอุปัชฌายะ ตอ้ งถือภิกษุ อ่นื เป็นอาจารย์ และอาศยั ท่านแทนอุปชั ฌายะ วธิ ีถืออาจารย์กเ็ หมือนกับวิธีถอื อุปชั ฌายะ ตา่ งแต่ค�ำขอว่า “อาจรโิ ย เม ภนเฺ ต โหห,ิ อายสมฺ โต นสิ สฺ าย วจฉฺ าม”ิ ๓ หน ภกิ ษผุ รู้ บั ใหพ้ ง่ึ พงิ ไดช้ อื่ วา่ “อาจารย”์ ภกิ ษผุ อู้ งิ อาศยั ไดช้ อ่ื วา่ “อนั เตวาสกิ ” ภกิ ษมุ พี รรษาหยอ่ น ๕ เปน็ นวกะอยู่ แมเ้ ปน็ ผมู้ ีความร้ทู รงธรรมทรงวนิ ยั จะไมถ่ ือนสิ ัยอย่ใู นปกครองของ อปุ ชั ฌายะหรอื ของอาจารยไ์ มช่ อบ ทรงหา้ มไว้ ภกิ ษเุ ดนิ ทาง ภกิ ษุ ผไู้ ข้ ภกิ ษุผูเ้ ขา้ ปา่ เพอ่ื เจรญิ สมณธรรมช่ัวคราวในทใ่ี ด หาท่าน ผใู้ หน้ สิ ยั ไมไ่ ด้ และมเี หตขุ ดั ขอ้ งทจี่ ะไปอยใู่ นทอี่ น่ื ไมไ่ ด้ จะอยใู่ น

311 ทพ่ี กั สงฆ์จันทรงั ษี

ท่นี ้นั ดว้ ยผกู ใจว่า เมื่อใดมที า่ นผู้ใหน้ สิ ยั ได้มาอยู่ จกั ถือนิสัย ในท่านนั้นกใ็ ชไ้ ด้ ภกิ ษผุ ู้มพี รรษาได้ ๕ แลว้ แต่ยังหยอ่ น ๑๐ มอี งคสมบัติ พอรกั ษาตนผู้อยู่ตามล�ำพงั ได้ ทรงพระอนญุ าตให้พ้นจากนสิ ัย อยูต่ ามลำ� พงั ไดเ้ รยี กว่า “นสิ สัยมุตตะกะ” ฝา่ ยภิกษผุ ้มู คี วาม รไู้ ม่พอจะรักษาตนแมพ้ ้น ๕ พรรษาแล้ว กต็ ้องถือนิสยั

จ�ำพรรษา

เป็นธรรมเนียมของภิกษุ เม่ือถึงฤดูฝน หยุดอยู่ที่เดียว ไม่เที่ยวไปไหน ๓ เดือนต้นฤดู เรียกว่า จ�ำพรรษา ถึงวัน เข้าพรรษา พึงเข้าไปประชมุ อธิษฐานพรรษาพร้อมดว้ ยสงฆใ์ น อุโบสถ หรอื ในวิหาร คำ� อธิษฐานพรอ้ มกนั ว่าดงั น้ี “อมิ สฺมึ อาวาเส, อิมํ เตมาส,ํ วสสฺ ํ อเุ ปม” ค�ำอธิษฐานทีละรปู วา่ ดังน้ี “อมิ สมฺ ึ อาวาเส, อิมํ เตมาสํ, วสสฺ ํ อเุ ปม”ิ เม่ืออธิษฐานพึงผูกใจว่าจักอยู่ค้างคืนในเขตอาวาสตลอด ๓ เดอื น ถา้ ภกิ ษทุ ำ� กฏุ อิ ยจู่ ำ� พรรษาในปา่ เฉพาะรปู ควรกำ� หนด เขตเฉพาะกุฏกิ ับบรเิ วณแล้วกลา่ วค�ำอธิษฐานพรรษา วา่ “อมิ สมฺ ึ วหิ าเร, อมิ ํ เตมาส,ํ วสสฺ ํ อุเปมิ”

หนังสอื สวดมนต์ 312

ถงึ วนั เขา้ พรรษา ไมเ่ ขา้ พรรษา เทย่ี วเรร่ อ่ นไปเสยี ไมส่ มควร เข้าพรรษาแล้วตอ้ งอย่แู รมคนื ตลอด ๓ เดือน ถา้ มเี หตุจำ� เปน็ ทรงอนญุ าตใหไ้ ปได้ แตใ่ หก้ ลบั มาภายใน ๗ วนั เรยี กวา่ ไปดว้ ย สตั ตาหกรณียะ เช่นน้พี รรษาไมข่ าด ถา้ ไปเสยี ดว้ ยไม่คิดกลับ หรือคดิ จะกลบั แต่เกนิ ๗ วันไป พรรษาขาด ไม่เขา้ พรรษาหรอื ขาดพรรษาเพราะมเี หตไุ มจ่ ำ� เปน็ ถอื เปน็ การละเมดิ ธรรมเนยี ม ถูกปรบั อาบตั ิทกุ กฏ

ค�ำสัตตาหะ

สตตฺ าหกรณยี ํ กจิ จฺ ํ เม อตถฺ ,ิ ตสมฺ า มยา คนฺตพพฺ ํ, อิมสฺมึ สตฺตาหพภฺ นตฺ เร นวิ ตฺตสิ สฺ ามิ. แปลว่า กิจที่ต้องท�ำสัตตาหะของผมมีอยู่ เพราะฉะนั้น ผมจำ� ต้องไป ผมจักกลบั มาภายใน ๗ วนั นี้

เหตไุ ปดว้ ยสัตตาหะกะระณียะ

ก. สหธรรมิกหรือมารดาบิดาเจ็บไข้ รู้เข้าไปเพ่ือรักษา พยาบาลก็ได้ ข. สหธรรมิกกระสันจะสึก ร้เู ขา้ ไปเพ่ือระงบั กไ็ ด้ ค. มีกิจสงฆ์เกิดขึ้น เป็นต้นว่า วิหารช�ำรุดลงในเวลานั้น ไปหาเคร่ืองทัพพะสัมภาระ มาปฏสิ ังขรณ์ได้อยู่

313 ท่พี กั สงฆ์จนั ทรังษี

ง. ทายกต้องการจะบ�ำเพญ็ กุศล สง่ คนมานมิ นต์ ไปเพอ่ื บำ� รุงศรทั ธาของเขาไดอ้ ยู่ แมธ้ ุระอนื่ นอกจากนี้ ที่เป็นกิจลกั ษณะ อนโุ ลมตามนเี้ กิด ขึน้ ไปกไ็ ด้เหมอื นกัน

อานสิ งสจ์ �ำพรรษา

ภิกษุผู้อยู่จ�ำพรรษาตลอดกาลจนได้ปวารณาแล้ว ย่อมได้ อานสิ งสแ์ หง่ การจ�ำพรรษา นบั แตว่ ันปาฏิบทไปเดือนหนึ่ง คือ ๑. เท่ียวไปไม่ต้องบอกลา ตามสกิ ขาบทท่ี ๖ แหง่ อเจลก- วรรค ในปาจิตติยกัณฑ์ (รับนิมนต์ฉันแล้วไปท่ีอ่ืนไม่บอกลา ภกิ ษ)ุ ๒. เท่ียวจาริกไปไมต่ อ้ งถอื เอาไตรจวี รไปครบส�ำรบั ๓. ฉนั คณโภชน์ (ฉันอาหารเป็นหมู่ เวน้ แตส่ มัย) และ ปรมั ปรโภชน์ (รบั นิมนต์ไวแ้ ล้วไปฉนั โภชนะที่อน่ื ก่อน) ได้ ๔. เก็บอตเิ รกจวี รไวไ้ ดต้ ามปรารถนา ๕. จีวรอนั เกิดข้ึนในทน่ี ้ัน เปน็ ของได้แกพ่ วกเธอทั้งหลาย ทงั้ ไดโ้ อกาสเพอื่ จะกรานกฐนิ และไดร้ บั อานสิ งส์ ๕ ขา้ งตน้ น้นั เพ่ิมออกไปอกี ๔ เดือนตลอดฤดูเหมันต์

หนังสือสวดมนต์ 314

ระเบียบ คำ� ขอขมาโทษตอ่ ทา่ นผู้ควรเคารพ

ค�ำขอขมาพระรัตนตรัย

ระตะนตั ตะเย ปะมาเทนะ, ทว๎ ารัตตะเยนะ กะตัง, สพั พัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต.

ค�ำขอขมาพระเถระ

เถเร ปะมาเทนะ, ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราธงั ขะมะตุ โน ภนั เต.

ค�ำขอขมาพระอุปัชฌาย์

อุปัชฌาเย ปะมาเทนะ, ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพงั อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต.

ค�ำขอขมาพระอาจารย์

อาจะรเิ ย ปะมาเทนะ, ทว๎ ารตั ตะเยนะ กะตงั , สพั พงั อะปะราธงั ขะมะตุ โน ภันเต.

315 ที่พกั สงฆจ์ นั ทรงั ษี

คำ� ขอขมาพระสงฆ์

สังเฆ ปะมาเทนะ, ทîวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธงั ขะมะตุ โน ภันเต.

ค�ำขอขมาบุคคลทั่วไป

อายัสîมันเต ปะมาเทนะ, ทîวารัตตะเยนะ กะตัง, สพั พัง อะปะราธงั ขะมะตุ โน ภันเต.

คำ� ขอขมาโทษบิดามารดา

มาตาปิตะเร ปะมาเทนะ, ทîวารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราธงั ขะมะตุ โน ภันเต

(ถ้าว่าคนเดียว คำ� วา่ ขะมะตุ โน เป็น ขะมะถะ เม)

คำ� ขอขมารวม

ระตะนตั ตะเย ปะมาเทนะ, ทวาระตะเยนะ กะตงั , สัพพงั อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต, อาจะรเิ ย ปะมาเทนะ, ทวาระตะเยนะ กะตงั , สพั พัง อะปะราธงั , ขะมะตุ โน ภันเต,

หนงั สือสวดมนต์ 316

มาตาปติ ะเร ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตงั สพั พงั อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต. กรรมช่ัวอันใดท่ีเป็นบาปอกุศล อันข้าพเจ้าได้ประมาท พลาดพลั้งล่วงเกินในคุณพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ในครบู าอาจารย์ ตลอดท้งั บิดามารดา ปยู่ า่ ตายาย สามีภรรยา ของข้าพเจ้า ดว้ ยกาย วาจา ใจ ท้ังต่อหนา้ และลบั หลัง จำ� ได้ หรอื จ�ำไมไ่ ด้กด็ ี ท้งั ทีเ่ จตนาหรือหาเจตนาไม่ได้ ขอให้ทา่ นผมู้ ี พระคุณท้ังหลายเหล่านั้นจงลุแก่โทษ โปรดอโหสิกรรมให้ ข้าพเจ้า เพื่อไม่ให้เป็นบาป เป็นเวร เป็นกรรม ต่อไปอีก ขอความสขุ ความเจรญิ ความปราศจากโรคภัยไขเ้ จ็บ เสนยี ด จัญไร อนั ตรายใดๆ อย่าได้มาพ้องพาน ความมโี ชคชัยจงเกิด แก่ข้าพเจ้า ตง้ั แตว่ ันนีเ้ ปน็ ต้นไป ตลอดกาลนานเทอญฯ สาธุ เมือ่ จะขอขมาโทษจากผู้ใด ให้กราบ ๓ ครัง้ กอ่ น แลว้ วา่ นะโม ๓ จบ ต่อไปกล่าวคำ� ขอขมา ๓ จบ แล้วหมอบกราบวา่ “ขะมามะ ภนั เต” ตามระยะค�ำบาลี ทา่ นอโหสวิ ่า “อะหงั ขะมามิ ตุมเหหิปิ เม ขะมิตพั พัง”

317 ท่ีพักสงฆจ์ นั ทรงั ษี

ขอขมา

ในพระพทุ ธศาสนา มกั นยิ มวา่ ผใู้ ดทำ� ลว่ งเกนิ ผอู้ น่ื ผนู้ นั้ ไม่ ควรทำ� เลยตามเลย เมอื่ รสู้ กึ ตวั แลว้ พงึ ขอโทษ เรยี กวา่ ขอขมา แปลวา่ ขอให้อดโทษ และผใู้ ดถูกลว่ งเกิน และไดร้ ับขอขมา ผนู้ น้ั ไมค่ วรถอื โกรธไมร่ หู้ าย พงึ รบั ขมายอมอดโทษให้ การขอขมา จงึ เปน็ ธรรมเนียมท�ำกันสบื มา ในวนั เขา้ พรรษา และในวันต่อ จากนน้ั ตามกาล อยใู่ นวดั เดยี วกนั หรอื ในตา่ งวดั เปน็ กจิ อนั ผนู้ อ้ ย ทำ� แก่ผ้ใู หญ่ แมไ้ ม่เคยได้ล่วงเกนิ กันกย็ งั ท�ำอยู่ คำ� ขอขมา ว่าดังน้ี :- ผขู้ อขมารปู เดียว “เถเร ปมาเทน, ทวฺ ารตฺตเยน กต,ํ สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต” ผู้รับขมาวา่ “อหํ ขมาม,ิ ตยาปิ เม ขมติ พพฺ ํ” ผูข้ อขมารปู เดยี วรบั ว่า “ขมามิ ภนเฺ ต” ผู้ขอขมาหลายรูปวา่ “เถเร ปมาเทน, ทฺวารตฺตเยน กตํ, สพฺพํ อปราธํ ขมตุ โน ภนฺเต” ผรู้ บั ขมาว่า “อหํ ขมามิ, ตมุ เฺ หหปิ ิ เม ขมติ พฺพํ” ผขู้ อขมาหลายรปู รับวา่ “ขมาม ภนฺเต” ถ้าผู้รับขมา เป็นพระมหาเถระผมู้ ีอาวุโสมาก พงึ ใช้คำ� ว่า “มหาเถเร” รองจากนน้ั ลงมาวา่ “เถเร” รองลงมาอกี วา่ “อาจรเิ ย”

หนงั สือสวดมนต์ 318

ต่�ำกว่านั้นว่า “อายสฺมนฺเต” พึงเลือกใช้ค�ำให้เหมาะสมกับ บคุ คล ผ้รู บั ขมา เปน็ ธรรมเนยี มทผี่ รู้ บั ขมาตอ้ งกลา่ วคำ� ใหพ้ ร ฉะนนั้ เมอื่ ขอ ขมาแลว้ ผขู้ อขมาพงึ หมอบรอรบั พรจากทา่ น เมอ่ื ทา่ นใหพ้ รจบ รับวา่ “สาธุ ภนฺเต”

ค�ำใหพ้ รเมอ่ื มผี ้ขู อขมา

เอวํ โหตุ เอวํ โหต,ุ โย จ ปพุ ฺเพ ปมชชฺ ิตวฺ า ปจฺฉา โส นปปฺ มจุ จฺ ต,ิ โสมํ โลกํ ปภาเสติ อาภา มตุ โฺ ต ว จนทฺ มิ า, ยสสฺ ปาปํกตํกมมฺ ํกสุ เลนปหยิ ยฺ ต,ิ โสมํโลกํปภาเสติอาภา มตุ โฺ ต ว จนทฺ มิ า, อภวิ าทนสลี สิ สฺ นจิ จฺ ํ วฑุ ฒฺ าปจายโิ น, จตฺตาโร ธมฺมา วฑฒฺ นตฺ ิ อายุ วณโฺ ณ สขุ ํ พล.ํ

อตตฺ ทตถฺ ํ ปรตเฺ ถน พหนุ าป าปเย อตตฺ ทตฺถมภญิ ญฺ าย สทตถฺ ปสโุ ต สยิ า บคุ คลไมค่ วรพล่าประโยชนข์ องตน เพราะประโยชน์ผู้อื่นแมม้ าก รจู้ กั ประโยชน์ของตนแลว้ พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน ขุททกนกิ าย ธรรมบท

319 ทพ่ี กั สงฆจ์ นั ทรงั ษี

อุโบสถ (๑) (๒)

อุโบสถ ว่าโดยบคุ คลผู้ท�ำมี ๓ ๑. สังฆอุโบสถ คือ ภกิ ษปุ ระชุมกนั ตง้ั แต่ ๔ รปู ขนึ้ ไป มีพระพทุ ธานญุ าตให้สวดปาฏโิ มกข์ ภกิ ษผุ จู้ ะเขา้ ฟงั ปาฏโิ มกขต์ อ้ งชำ� ระตนใหบ้ รสิ ทุ ธจิ์ ากอาบตั ิ ท่ีเป็นเทศนาคามินี คือแก้ได้ด้วยการแสดง ส่วนอาบัติท่ีเป็น วฏุ ฐานะคามนิ ี จะพน้ ไดด้ ว้ ยอยกู่ รรมคอื สงั ฆาทเิ สส ทา่ นใหบ้ อก ไว้แก่ภิกษแุ มร้ ูปหน่งึ วา่ ขา้ พเจา้ ตอ้ งอาบัติสงั ฆาทเิ สส มวี ตั ถุ อยา่ งนัน้ ๆ แลว้ ฟังปาฏโิ มกข์ได้ กำ� ลงั สวดปาฏโิ มกขค์ า้ งอยู่ มภี กิ ษพุ วกอน่ื มาถงึ เขา้ ถา้ มากกวา่ ภิกษุผ้ชู ุมนุมอยู่ ท่านให้สวดตั้งต้นใหม่ แต่ถ้าเทา่ กันหรือนอ้ ย กว่า ใหเ้ ธอผมู้ าใหมฟ่ งั สว่ นทยี่ ังเหลอื ต่อไป ถา้ สวด จบแลว้ จงึ มภี กิ ษอุ น่ื มาแมม้ ากกวา่ ไมต่ อ้ งกลบั สวดอกี ใหเ้ ธอผมู้ าใหม่ พึงบอกปาริสทุ ธใิ นสำ� นกั ผู้สวดผูฟ้ งั ปาฏิโมกข์แลว้ คำ� แสดงปารสิ ทุ ธิเปน็ การสงฆ์ ว่าดงั น้ี :- ปริสุทโฺ ธ อหํ ภนเฺ ต, ปริสทุ ฺโธติ มํ สงโฺ ฆ ธาเรตุ. ถา้ ผแู้ สดงมพี รรษาแกก่ วา่ ภกิ ษทุ ง้ั หมด ใชค้ ำ� วา่ “อาวโุ ส” แทน “ภนฺเต”

(๑) บพุ พสิกขาวรรณนา หน้า ๔๙๑-๕๐๑ (๒) วนิ ยั มขุ เล่ม ๒ หน้า ๙๐-๑๐๗

หนังสือสวดมนต์ 320

ค�ำขอโอกาสสวดปาฏโิ มกขแ์ ละตงั้ ญัตติปวารณา

กอ่ นจะขนึ้ อาสนะเพ่ือสวดปาฏโิ มกข์หรือตง้ั ญตั ตปิ วารณา ผู้สวดตอ้ งน่ังกระโหย่งประนมมือตอ่ หนา้ คณะสงฆ์ กลา่ วว่า โอกาสํ เม ภนเฺ ต เถโร เทต,ุ ปาฏโิ มกขฺ ํ อุทเฺ ทสิต.ํุ

(ปาฏิโมกข์)

หรือ โอกาสํ เม ภนฺเต เถโร เทต,ุ วินยกถํ กเถตุ.ํ

(ปาฏโิ มกข)์

โอกาสํ เม ภนฺเต เถโร เทต,ุ ปวารณาตฺตึ €เปตุํ. (ปวารณา) ถา้ ในคณะสงฆน์ น้ั ไมม่ ภี กิ ษเุ กนิ ๑๐ พรรษา อาจจะเปลย่ี น “เถโร” เป็น “สงฺโฆ” กไ็ ด้ และเมือ่ สวดบพุ พกิจจบตอ้ งให้ ผอู้ าวโุ สในทน่ี น้ั กลา่ วคำ� อชั เฌสนาเสยี กอ่ นจงึ จะเรมิ่ สวดได้ ถา้ สวด โดยไม่มผี กู้ ล่าวเชญิ ผู้สวดจะต้องอาบตั ิทกุ กฏ

เหตุที่สวดปาฏโิ มกข์ยอ่

ทา่ นแสดงไว้ ๑๐ อยา่ งคอื ๑. พระราชาเสด็จมา ๖. ผีเขา้ ภกิ ษเุ ข้าในอาราม ๒. โจรมาปล้น ๗. สตั ว์ร้ายมีเสือเป็นต้นเขา้ มาในอาราม ๓. ไฟไหม ้ ๘. งรู ้ายเลอื้ ยเขา้ มาในที่ชมุ นมุ ๔. น�้ำหลากมา ๙. ภกิ ษอุ าพาธดว้ ยโรครา้ ยขน้ึ ในทช่ี มุ นมุ นนั้ ๕. คนมามาก ๑๐. มีอันตรายแกพ่ รหมจรรย์

321 ที่พกั สงฆจ์ นั ทรังษี

วธิ สี วดปาฏโิ มกขย์ อ่ (๑) (๒)

สวดนทิ านทุ เทสตงั้ แต่ สณุ าตุ เม ภนเฺ ต สงโฺ ฆ, ไปจนถงึ ผาสุ โหต.ิ แลว้ สวด อทุ ทฺ ิฏ€ฺ ํ โข อายสมฺ นโฺ ต นทิ านํ, ตตฺถายสมฺ นเฺ ต ปจุ ฉามิ : กจจฺ ิตถฺ ปรสิ ทุ ธฺ า? ทุติยมปฺ ิ ปุจฉามิ : กจฺจติ ฺถ ปรสิ ุทฺธา? ตติยมปฺ ิ ปุจฉฺ ามิ : กจจฺ ิตถฺ ปรสิ ทุ ฺธา? ปรสิ ุทเฺ ธตถฺ ายสมฺ นฺโต : ตสฺมา ตณุ หฺ ี, เอวเมตํ ธารยามิ. จบนทิ านทุ เทสดงั นแี้ ลว้ อทุ เทสนอกนน้ั ประกาศเอาดว้ ย สตุ ะ ว่า สุตา โข อายสฺมนฺเตหิ จตฺตาโร ปาราชิกา ธมมฺ า, สตุ า โข อายสมฺ นฺเตหิ เตรส สงฆฺ าทิเสสา ธมมฺ า, สุตา โข อายสฺมนฺเตหิ เทวฺ อนยิ ตา ธมฺมา, สตุ า โข อายสมฺ นเฺ ตหิ ตสึ นสิ สฺ คคฺ ยิ า ปาจติ ตฺ ยิ า ธมมฺ า, สตุ า โข อายสมฺ นเฺ ตหิ เทวฺ นวตุ ิ ปาจิตฺตยิ า ธมมฺ า, สตุ า โข อายสฺมนฺเตหิ จตฺตาโร ปาฏเิ ทสนียา ธมมฺ า, สุตา โข อายสฺมนเฺ ตหิ เสขิยา ธมมฺ า,

(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หน้า ๔๙๗-๔๙๙ (๒) วินัยมุข เลม่ ๒ หนา้ ๑๐๒-๑๐๔

หนังสอื สวดมนต์ 322

สุตา โข อายสฺมนเฺ ตหิ สตฺตาธกิ รณสมถา ธมมฺ า, เอตฺตกํ ตสฺส ภควโต สุตฺตาคตํ สุตฺตปริยาปนฺนํ อนวฺ ฑฒฺ มาสํ อทุ เฺ ทสํ อาคจฉฺ ต,ิ ตตถฺ สพฺเพเหว สมค-ฺ เคหิ สมโฺ มทมาเนหิ อวิวทมาเนหิ สิกขฺ ิตพฺพํ. อนง่ึ ไมม่ อี นั ตราย ถา้ สวดปาฏโิ มกขโ์ ดยยอ่ ทา่ นปรบั อาบตั ิ ทกุ กฏ อทุ เทสใดสวดคา้ งอยู่ อนั ตรายมมี า แมอ้ ทุ เทส นน้ั พงึ ประกาศ ดว้ ยสตุ ะ แตน่ ทิ านทุ เทสสวดยงั ไมจ่ บ อยา่ พงึ ประกาศดว้ ยสตุ ะ พงึ สวดใหจ้ บเสยี กอ่ น อทุ เทสนอกนน้ั พงึ ประกาศดว้ ยสตุ ะ เมอื่ ไมม่ ีอันตราย พงึ สวดโดยพิสดารจนจบ ๒. คณะอุโบสถ คอื มีภกิ ษเุ พยี ง ๓ รูป ๒ รปู ทา่ นห้าม ไมใ่ หส้ วดปาฏโิ มกข์ ใหบ้ อกความบรสิ ทุ ธขิ์ องตนแกก่ นั และกนั ถ้าภิกษอุ ยดู่ ว้ ยกนั ๓ รูป ใหร้ ูปหนง่ึ สวดประกาศด้วยญัตติว่า สณุ นตฺ ุ เม ภนเฺ ต อายสมฺ นตฺ า, อชชฺ โุ ปสโถ ปณณฺ รโส, ยทายสฺมนฺตานํ ปตฺตกลลฺ ํ, มยํ อญฺ มญฺํ ปารสิ ทุ ฺธิ- อโุ ปสถํ กเรยฺยาม. ถา้ ทา่ นผูส้ วดแก่กวา่ เพอื่ น พึงกลา่ วว่า “อาวุโส” แทน “ภนฺเต” ถา้ เปน็ วนั ๑๔ ค�่ำ พึงกลา่ ววา่ “จาตุททฺ โส” แทน “ปณณฺ รโส” ในล�ำดับนัน้ ภกิ ษุผูเ้ ถระพงึ บอกความบรสิ ทุ ธิ์ ของตนวา่ ปริสทุ ฺโธ อหํ อาวโุ ส, ปริสุทโฺ ธติ มํ ธาเรถ. ๓ หน ภิกษนุ อกนี้ ก็พึงท�ำอยา่ งน้ันตามล�ำดับพรรษา พึงบอกวา่

323 ทีพ่ ักสงฆ์จนั ทรังษี

ปริสทุ โฺ ธ อหํ ภนฺเต, ปริสุทฺโธติ มํ ธาเรถ. ๓ หน ถ้าภิกษุอยู่ด้วยกัน ๒ รูป ไม่ต้องตั้งญัตติ เป็นแต่บอก ปาริสุทธิ แก่กันและกนั ผู้แก่บอกวา่ ปรสิ ทุ โฺ ธ อหํ อาวโุ ส, ปริสทุ โฺ ธติ มํ ธาเรห.ิ ๓ หน ผอู้ อ่ นกวา่ บอกวา่ ปรสิ ุทโฺ ธ อหํ ภนเฺ ต, ปรสิ ุทโฺ ธติ มํ ธาเรถ. ๓ หน ๓. ปุคคลอุโบสถ คือ ภิกษุอยรู่ ูปเดยี ว ถึงวนั อโุ บสถ ทา่ นใหร้ อภกิ ษอุ นื่ จนสนิ้ เวลา เหน็ วา่ ไมม่ าแลว้ ใหอ้ ธษิ ฐานวา่ อชฺช เม อโุ ปสโถ.

ปวารณา (๑) (๒) (๓)

ในวนั เพญ็ แหง่ เดอื นกตั ตกิ าตน้ ท่เี ต็ม ๓ เดือนนบั แต่วนั จ�ำพรรษามีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จ�ำพรรษาถ้วนไตรมาส ทำ� ปวารณาแทนอโุ บสถ ปวารณาดว้ ยท่ี ๓ สถาน คอื ดว้ ยไดเ้ หน็ ดว้ ยไดย้ นิ ดว้ ยรงั เกยี จ ปวารณานนั้ จกั เปน็ ความอนโุ ลมแกก่ นั และกนั และจักเป็นความยังกันและกันใหอ้ อกจากอาบตั ิ และ จกั เปน็ ความทำ� วนิ ยั ในเบอ้ื งหนา้ แกก่ นั และกนั แหง่ ทา่ นทงั้ หลาย ปวารณา วา่ โดยบุคคลผู้ท�ำมี ๓

๑. สังฆปวารณา คือ ปวารณาเปน็ การสงฆจ์ �ำนวนภิกษุ ผปู้ ระชมุ ตอ้ งมี ๕ รปู เปน็ อยา่ งนอ้ ย มจี ำ� นวนมากกวา่ อโุ บสถ ๑ รปู

(๑) บพุ พสิกขาวรรณนา หน้า ๕๐๘-๕๑๕ (๒) วินัยมุข เล่ม ๒ หนา้ ๑๐๗-๑๑๓ (๓) อุปสมบทวธิ ี หนา้ ๑๐๓-๑๐๕

หนังสือสวดมนต์ 324

เขา้ ใจว่า เมื่อเปน็ ผ้ปู วารณา ๑ รปู อีก ๔ รูป จะได้ครบองค์ เปน็ สงฆ์ ทำ� ปวารณาเปน็ การสงฆ์ โดยปกตใิ หป้ วารณารปู ละ ๓ หน แตถ่ า้ มีเหตขุ ัดข้องจะปวารณารูปละ ๒ หน หรือ ๑ หนก็ได้ หรือพรรษาเท่ากันให้ว่าพร้อมๆ กันก็ได้ จะปวารณาอย่างไร พึงประกาศแก่สงฆใ์ ห้รดู้ ว้ ยญตั ตกิ ่อน วธิ ตี ้งั ญัตตินน้ั พึงรูอ้ ย่างน้ี :- ๑. ถ้าจะปวารณา ๓ หน พึงตง้ั ญัตติว่า “สณุ าตุ เม ภนเฺ ต สงโฺ ฆ, อชชฺ ปวารณา ปณฺณรส,ี ยทิ สงฺฆสฺส ปตตฺ กลฺล,ํ สงฺโฆ เตวาจกิ ํ ปวาเรยยฺ ” ๒. ถ้าจะปวารณา ๒ หน พึงตงั้ ญัตติวา่ “สุณาตุ เม ภนฺเต สงโฺ ฆ, อชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยทิ สงฆฺ สฺส ปตฺตกลลฺ ,ํ สงฺโฆ เทวฺ วาจกิ ํ ปวาเรยยฺ ” ๓. ถ้าจะปวารณาหนเดยี ว พึงต้ังญัตตวิ ่า “สณุ าตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อชชฺ ปวารณา ปณฺณรส,ี ยทิ สงฆฺ สฺส ปตฺตกลฺล,ํ สงฺโฆ เอกวาจิกํ ปวาเรยยฺ ” ๔. ถา้ จะจดั ภกิ ษมุ ีพรรษาเทา่ กนั ให้ปวารณาพร้อมกัน พงึ ต้งั ญตั ติว่า “สุณาตุ เม ภนฺเต สงโฺ ฆ, อชชฺ ปวารณา ปณณฺ รสี, ยทิ สงฺฆสสฺ ปตตฺ กลฺล,ํ สงโฺ ฆ สมานวสสฺ ิกํ ปวาเรยฺย” จะปวารณาพรอ้ มกนั ๓ หน ๒ หน หรือหนเดยี วได้ทัง้ น้ัน

325 ท่พี ักสงฆจ์ ันทรังษี

๕. ถ้าจะไมร่ ะบปุ ระการ พงึ ตั้งญตั ตคิ รอบทวั่ ไปวา่ “สณุ าตุ เม ภนเฺ ต สงโฺ ฆ, อชชฺ ปวารณา ปณฺณรส,ี ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลลฺ ,ํ สงโฺ ฆ ปวาเรยฺย” จะปวารณากี่หน กไ็ ด้ แต่ทา่ นห้ามไมใ่ ห้ผู้มพี รรษาเท่ากัน ปวารณาพร้อมกัน อนงึ่ ถา้ ผตู้ ง้ั ญตั ตมิ พี รรษามากกวา่ เพอื่ น พงึ วา่ “อาวโุ ส” แทน “ภนเฺ ต” และถา้ เปน็ วนั ปวารณาท่ี ๑๔ พงึ วา่ “จาตทุ ทฺ ส”ี แทน “ปณณฺ รสี” คร้ันต้งั ญัตตแิ ลว้ ภกิ ษผุ ้เู ถระ พงึ น่งั คกุ เข่าประนมมอื กล่าวปวารณาตอ่ สงฆ์วา่ สงฆฺ ํ อาวโุ ส ปวาเรม,ิ ทฏิ เฺ €น วา สเุ ตน วา ปรสิ งกฺ าย วา, วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย, ปสฺสนฺโต ปฏกิ ฺกรสิ ฺสามิ, ทตุ ยิ มปฺ ิ อาวโุ ส สงฆฺ ํ ปวาเรม.ิ ..ฯลฯ...ปฏกิ กฺ รสิ สฺ าม,ิ ตติยมปฺ ิ อาวโุ ส สงฆฺ ํ ปวาเรมิ...ฯลฯ...ปฏิกฺกริสสฺ ามิ. ภกิ ษนุ อกน้ี พงึ ปวารณาตามลำ� ดบั พรรษาทลี ะรปู เวน้ ไวแ้ ต่ ต้ังญัตติให้ผู้มีพรรษาเท่ากันปวารณาพร้อมกัน โดยนัยนั้น เปลย่ี นใช้ คำ� วา่ “สงฺฆมฺภนฺเต” แทน “สงฆฺ ํ อาวโุ ส” และ “ภนเฺ ต” แทน “อาวุโส” ๒. คณะปวารณา คือ ปวารณาเป็นการคณะ จำ� นวน ภกิ ษุ ผูป้ ระชมุ มี ๔ รปู หรือ ๓ รปู หรือ ๒ รปู อยา่ งใด อย่างหน่งึ

หนังสอื สวดมนต์ 326

ถา้ มภี ิกษุ ๔ รปู ให้รูปหนงึ่ ประกาศดว้ ยญตั ตวิ า่ “สุณนตฺ ุ เม อายสมฺ นฺโต, อชชฺ ปวารณา ปณณฺ รส,ี ยทายสมฺ นตฺ านํ ปตตฺ กลลฺ ,ํ มยํ อญฺ มญฺ ํ ปวาเรยยฺ าม” ถ้าเปน็ วนั ปวารณาที่ ๑๔ พงึ ว่า “จาตุททฺ สี” แทน “ปณณฺ รส”ี ถา้ มภี ิกษุ ๓ รูป ให้รปู หน่งึ ประกาศดว้ ยญตั ติวา่ “สุณนตฺ ุ เม อายสฺมนฺตา, อชฺช ปวารณา ปณฺณรสี, ยทายสมฺ นตฺ านํ ปตตฺ กลลฺ ,ํ มยํ อญฺ มญฺ ํ ปวาเรยยฺ าม” ครน้ั ตง้ั ญตั ตแิ ลว้ พงึ กลา่ วปวารณาตอ่ กนั และกนั ตามลำ� ดบั พรรษา ดงั น้ี อหํ อาวโุ ส อายสมฺ นฺเต ปวาราม,ิ ทฏิ เฺ €น วา สุเตน วา ปรสิ งกฺ าย วา, วทนตฺ ุ มํ อายสมฺ นโฺ ต อนกุ มปฺ ํ อปุ าทาย, ปสสฺ นโฺ ต ปฏกิ ฺกริสสฺ าม,ิ ทุติยมฺปิ อาวุโส อายสฺมนฺเต ปวารามิ...ฯลฯ... ปฏิกกฺ ริสฺสาม,ิ ตติยมฺปิ อาวุโส อายสฺมนฺเต ปวารามิ...ฯลฯ... ปฏิกกฺ ริสฺสาม.ิ ถา้ รูปอ่อนกวา่ พึงวา่ “ภนเฺ ต” แทน “อาวุโส” ถา้ มภี กิ ษุ ๒ รปู ไมต่ อ้ งตง้ั ญตั ติ ใหก้ ลา่ วปวารณาตอ่ กนั และกันเลย ดงั น้ี อหํ อาวโุ ส อายสมฺ นตฺ ํ ปวาเรม,ิ ทฏิ เฺ €น วา สเุ ตน วา ปริสงฺกาย วา, วทนตฺ ุ มํ อายสมฺ า อนกุ มฺปํ อุปาทาย, ปสฺสนฺโต ปฏิกฺกรสิ สฺ ามิ,

327 ทพ่ี กั สงฆ์จนั ทรงั ษี

ทุติยมฺปิ อาวุโส อายสฺมนฺตํ ปวาเรมิ...ฯลฯ... ปฏกิ ฺกริสสฺ ามิ, ตติยมฺปิ อาวุโส อายสฺมนฺตํ ปวาเรมิ...ฯลฯ... ปฏกิ ฺกรสิ ฺสามิ. ถา้ รูปอ่อนกวา่ พึงว่า “ภนเฺ ต” แทน “อาวุโส” ๓. ปคุ คลปวารณา คอื อธษิ ฐานเปน็ การบคุ คล ภกิ ษผุ อู้ ยู่ จ�ำพรรษารปู เดยี ว ครั้นถึงวนั ปวารณา ทา่ นให้รอภิกษุอนื่ จน สน้ิ เวลา เหน็ วา่ ไมม่ าแลว้ ใหอ้ ธษิ ฐานวา่ อชชฺ เม ปวารณา.

อานนท.์ .. เราจกั ไม่พยายามท�ำ กะพวกเธออยา่ งทะนถุ นอม เหมือนพวกช่างหมอ้ ทำ�กับหม้อทีย่ งั เปยี ก ยังดบิ อยู่ อานนท.์ .. เราจักขนาบแลว้ ขนาบอกี ไมม่ หี ยุด อานนท์... เราจักชโ้ี ทษแลว้ ช้ีโทษอีก ไม่มีหยดุ ผใู้ ดมีมรรคผลเปน็ แก่นสาร ผนู้ น้ั จักทนอย่ไู ด้ คนเราควรมองผมู้ ปี ญั ญาใดๆ ท่คี อยกล่าว ค�ำ ขนาบอยูเ่ สมอไปว่า คอื "คนช้ีขมุ ทรัพย"์ และควรคบบณั ฑิตทเ่ี ปน็ เช่นน้ัน เมอ่ื คบหากบั บณั ฑิตเช่นนน้ั ยอ่ มมแี ตด่ ีโดยส่วนเดยี ว

หนังสอื สวดมนต์ 328

อธกิ มาส อธิกวาร และปักขคณนาวธิ ี

๑. ปฏทิ นิ ทางจนั ทรคติ กำ� หนดเวลาทด่ี วงจนั ทรห์ มนุ รอบ โลกเปน็ ๑ เดอื น ใชเ้ วลา ๒๙.๕๓๐๕๙๓ วัน รวม ๑๒ เดอื น เป็น ๑ ปี (๒๙.๕๓๐๕๙๓ x ๑๒ = ๓๕๔.๓๖๗๑๒๒ วนั ) ๒. ปฏิทินทางสุรยิ คติ กำ� หนดเวลาทโี่ ลกหมนุ รอบ ดวงอาทิตย์ เปน็ ๑ ปี ใชเ้ วลา ๓๖๕.๒๕๘๖๘๐ วัน ๓. ถา้ ใชเ้ ฉพาะทางจนั ทรคติ ฤดตู า่ งๆ อาจจะเลอ่ื นไป เชน่ ฤดจู �ำพรรษาซึ่งเป็นหน้าฝนอาจจะตกในหนา้ หนาว หรือ หนา้ ร้อน เพราะ ฤดตู ่างๆ ขน้ึ กับต�ำแหนง่ ของโลกรอบดวงอาทติ ย์ ๔. ถา้ ใชเ้ ฉพาะทางสรุ ยิ คติ จะทำ� ใหก้ ารกำ� หนดวนั ในแตล่ ะ เดือน ท�ำได้ล�ำบาก เพราะไม่สามารถเห็นข้อแตกต่างของ ดวงอาทิตย์ในแต่ละ วันได้ แต่สามารถเห็นข้อแตกต่างของ ดวงจนั ทร์ ในแต่ละวันได้ โดยง่าย ๕. ปสี ุรยิ คติยาวกวา่ ปจี นั ทรคติ ๓๖๕.๒๕๘๖๘๐ - ๓๕๔. ๓๖๗๑๒๒ = ๑๐.๘๙๑๕๕๘ วัน ๓ ปี จะคลาดกนั ๓๒ วนั เศษจงึ เกิดการทดอธกิ มาส คือ เพมิ่ เดือนทางจนั ทรคติขึน้ อีก ๑ เดอื น ทำ� ให้ปีน้ันเดอื นทางจันทรคติมี ๑๓ เดือน ส่วนเศษ อกี ๒ วนั กว่า กน็ �ำไปผนวกในปีตอ่ ๆ ไป ๖. ปฏิทินราชการไทยโดยปกติให้ปีทางจันทรคติมี ๑๒ เดอื น เดอื นคจู่ ะมี ๓๐ วนั (ขา้ งขนึ้ ๑๕ วนั กบั ขา้ งแรม ๑๕ วนั )

329 ท่ีพกั สงฆจ์ ันทรังษี

เดือนค่ีมี ๒๙ วัน (ข้างข้ึน ๑๕ วันกับข้างแรม ๑๔ วัน) เรียกว่า ‘ปกติวาร’ เฉล่ียแล้ว ๑ เดือนมี ๒๙.๕ วัน ดังนั้นใน ๑ เดือนกาลแห่ง ดวงจนั ทรจ์ ะมากกว่าในปฏิทินอยู่ ๒๙.๕๓๐๕๙๓๕ - ๒๙.๕ = ๐.๐๓๐๕ ๙๓๕ วนั เวลานสี้ ะสม ไปเรือ่ ยๆ จนครบ ๑ วัน จึงเกิดทดอธิกวารคอื ในเดือน ๗ ซ่งึ เปน็ เดอื นคจี่ ะมี ๓๐ วนั (มแี รม ๑๕ ค่�ำ) แต่จะมีการทด อธกิ วารในปใี ดยังไม่มหี ลกั เกณฑ์แนน่ อน เมือ่ เห็นว่าจนั ทรด์ บั จนั ทรเ์ พ็ญบนท้องฟ้าตา่ งจากปฏทิ ินจึงคอ่ ยคิดทดกม็ ี ๗. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ ฯ ทรงคดิ ปกั ขคณนาวธิ ี ข้ึน เพื่อให้การนับวันข้ึนแรมในปฏิทินปักขคณนาตรงกับกาล จนั ทรด์ บั จนั ทรเ์ พญ็ บนทอ้ งฟา้ โดยไมต่ อ้ งมกี ารเพม่ิ อธกิ วารอกี และให้ตรงกับวันที่พระพุทธองค์ทรงก�ำหนดให้ท�ำวินัยกรรม อย่างแท้จรงิ ๘. คร้ังพุทธกาลใชจ้ ันทรคติองิ สรุ ยิ คติ เชน่ การก�ำหนด วัน เข้าพรรษาในวนั แรม ๑ ค�่ำเดือน ๘ แตถ่ ้าปใี ดมอี ธิกมาส ให้เลอ่ื นเป็นวนั แรม ๑ คำ�่ เดือน ๘ หลัง ๙. ปกั ข์ แปลวา่ ปีกหรอื ฝักฝา่ ย เดือนหนึง่ มี ๓๐ วัน ปกั ขข์ องเดอื นกค็ อื ปกี หนง่ึ ของเดอื นเทา่ กบั ๑๕ วนั ปักขถ์ ว้ น คือ ปกั ขน์ หี้ ่างจาก ปักขท์ ี่แลว้ ถ้วน ๑๕ วันพอดี ปักข์ขาด คือ ปกั ข์นีห้ ่างจากปักขแ์ ล้ว ๑๔ วนั ขาดปกั ข์อยู่ หนง่ึ วัน

หนงั สอื สวดมนต์ 330

๑๐. ปกตสิ รุ ทิน คือ ตามปฏิทนิ สรุ ยิ คติ คอื ปีนน้ั เดอื น กมุ ภาพันธ์มี ๒๘ วนั ตามปกติ อธกิ สรุ ทนิ คอื ตามปฏิทินสุรยิ คติ ปนี ั้นเดอื นกุมภาพันธม์ ี ๒๙ วนั

วัฏจักรแหง่ อธิกมาส

331 ทพ่ี กั สงฆ์จันทรงั ษี

อธิบายแผนภาพ ๑. ตัวเลขฝรัง่ วงในสดุ บอก พ.ศ. ๒๕.. (๒๕๕๒-๒๕๗๐ เท่า กบั ครบ ๑ รอบทุก ๑๙ ป)ี ๒. ตัวเลขไทยวงถัดออกมาบอกเดือนไทย (เดือนทาง จันทรคติ) ทีอ่ ธิกมาสจะมาในปีนนั้ ๆ (มีเดอื น ๑๐, ๗, ๓, ๑๒, ๘, ๕, ๒) ๓. คำ� ว่า “รอ้ น, ฝน, หนาว” ในวงถดั ออกมาอกี คอื ฤดู ทอ่ี ธกิ มาสตกในปนี ัน้ ๆ ๔. วงนอกสดุ บอกระยะเวลาทจ่ี ะลงอโุ บสถสวดปาฏโิ มกข์ ในฤดนู นั้ ๆ ตง้ั แตอ่ โุ บสถแรกถงึ อโุ บสถสดุ ทา้ ยรวม ๑๐ อโุ บสถ เช่น ๔ ดับ ๘/๘ เพ็ญ หมายถึง ลงอุโบสถแรกวันแรม ๑๕ ค�่ำ (วนั ดบั ) เดอื น ๔ และลงอโุ บสถสดุ ทา้ ยวนั ขน้ึ ๑๕ คำ่� (วนั เพญ็ ) เดือน ๘ หลงั

วธิ ใี ช้ ๑. ถ้าต้องการตรวจดูอธิกมาสในอนาคต ก็ให้นับ พ.ศ. เพ่ิมขน้ึ ตามทิศตามเขม็ นาฬิกา ถา้ ต้องการตรวจดูอธิกมาสใน อดตี กใ็ ห้นับ พ.ศ. ลดลงตามทศิ ทวนเข็มนาฬิกา ๒. ถ้าปใี ดอธิกมาสในฤดูหนาว ๒, ๓, หรอื ๑๒ จะไป มี เดือน ๘ สองหนในปีถัดไปเช่น ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ ถ้าดตู าม แผนภาพอธกิ มาสจะมาในเดอื น ๓ ดงั นน้ั จะไปมเี ดอื น ๘ สองหน

หนงั สือสวดมนต์ 332

ในปถี ดั ไป คอื พ.ศ. ๒๕๕๓ คอื จะเรมิ่ สวด “อธกิ มาสวเสน....” ในอโุ บสถแรกของฤดหู นาว (วนั ดบั เดอื น ๑๒ ปลายปี ๒๕๕๒) จนถงึ อุโบสถ สุดท้ายของฤดูหนาว (วันเพญ็ เดอื น ๕ ต้นปี ๒๕๕๓) รวมเปน็ ๑๐ อโุ บสถ

การแบ่งฤดแู ละการบอกฤดู

ในรอบ ๑ ปี พระพทุ ธศาสนาแบ่งเปน็ ๓ ฤดู แต่ละฤดู โดยปกติจะนาน ๔ เดือน ปีปกติ คือ ปที ี่ไม่มีอธิกมาส ฤดฝู น จะเรม่ิ ตง้ั แตเ่ ขา้ พรรษาแรม ๑ คำ�่ เดอื น ๘ ถงึ ขนึ้ ๑๕ คำ�่ เดอื น ๑๒ หมดหนา้ กฐิน (สวดข้อ ข.) ฤดหู นาว จะเริ่มตงั้ แต่แรม ๑ คำ่� เดือน ๑๒ ถงึ ขน้ึ ๑๕ ค�ำ่ เดือน ๔ (สวดข้อ ก.) ฤดรู ้อน จะเรม่ิ ต้งั แต่แรม ๑ คำ่� เดือน ๔ ถงึ ข้ึน ๑๕ คำ่� เดือน ๘ (สวด ก.) ปที อ่ี ธกิ มาสมาในฤดฝู น คอื อธกิ มาสตกเดอื น ๘ หรอื เดอื น ๑๐ ฤดูฝน จะเร่มิ ตง้ั แต่แรม ๑ ค�่ำเดอื น ๘ แรก ถงึ ข้ึน ๑๕ ค�่ำ เดอื น ๑๒ (รวม ๕ เดอื น) (สวดข้อ ง.)

333 ทพี่ กั สงฆจ์ นั ทรงั ษี

ฤดูหนาว จะเรมิ่ ตงั้ แต่ ๑ คำ่� เดอื น ๑๒ ถงึ ขน้ึ ๑๕ คำ�่ เดอื น ๔ (เหมอื นปปี กติ) (สวดข้อ ก.) ฤดรู อ้ น จะเรม่ิ ตง้ั แตแ่ รม ๑ คำ่� เดอื น ๔ ถงึ ขนึ้ ๑๕ คำ่� เดอื น ๘ (เหมอื นปีปกต)ิ (สวดข้อ ก.) ปีทอี่ ธกิ มาสมาในฤดหู นาว คอื อธกิ มาสตกเดอื น ๒ เดอื น ๓ หรอื เดอื น ๑๒ ฤดหู นาว จะเรม่ิ ตงั้ แตแ่ รม ๑ คำ�่ เดอื น ๑๒ ถงึ ขน้ึ ๑๕ คำ่� เดอื น ๕ (รวม ๕ เดอื น) (สวดข้อ ค.) ฤดูรอ้ น จะเรมิ่ ตง้ั แตแ่ รม ๑ คำ่� เดอื น ๕ ถงึ ขนึ้ ๑๕ คำ�่ เดอื น ๘ หลัง (สวดข้อ ก.) ฤดูฝน จะเร่ิมตง้ั แต่แรม ๑ ค�ำ่ เดอื น ๘ หลัง ถงึ ขึน้ ๑๕ ค่�ำ เดอื น ๑๒ (สวดข้อ ข.) ปีที่อธิกมาสมาในฤดรู ้อน คอื อธกิ มาสตกเดือน ๕ หรอื เดือน ๗ ฤดูร้อน จะเรม่ิ ตงั้ แตแ่ รม ๑ คำ�่ เดอื น ๔ ถงึ ขน้ึ ๑๕ คำ่� เดอื น ๘ หลงั (รวม ๕ เดือน) (สวดข้อ ค.) ฤดฝู น จะเรมิ่ ต้ังแตแ่ รม ๑ คำ�่ เดอื น ๘ หลงั ถงึ ขึน้ ๑๕ คำ�่ เดอื น ๑๒ (สวดข้อ ข.) ฤดูหนาว จะเรมิ่ ต้ังแตแ่ รม ๑ คำ่� เดือน ๑๒ ถึงขึ้น ๑๕ คำ่� เดือน ๔ (เหมอื นปกติ) (สวดขอ้ ก.)

หนงั สือสวดมนต์ 334

วธิ ีเปลยี่ นบพุ พกิจพระปาฏโิ มกข์ ก. ฤดปู กติ

๑. อฏฺ อโุ ปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, สตฺต อุโปสถา อวสฏิ ฺ า. ๒. อฏฺ อโุ ปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, เอโก อโุ ปสโถ อติกฺกนฺโต, ฉ อุโปสถา อวสิฏฺ า. ๓. อฏฺ อโุ ปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, เทฺว อุโปสถา อตกิ ฺกนฺตา, ปญจฺ อโุ ปสถา อวสฏิ ฺา. ๔. อฏฺ อโุ ปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ตโย อุโปสถา อตกิ ฺกนฺตา, จตฺตาโร อโุ ปสถา อวสฏิ ฺา. ๕. อฏฺ อโุ ปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, จตฺตาโร อโุ ปสถา อตกิ กฺ นตฺ า, ตโย อโุ ปสถา อวสิฏฺ า. ๖. อฏฺ อโุ ปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ปญจฺ อโุ ปสถา อติกกฺ นตฺ า, เทวฺ อโุ ปสถา อวสฏิ ฺ า. ๗. อฏฺ อโุ ปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ฉ อุโปสถา อติกกฺ นตฺ า, เอโก อุโปสโถ อวสฏิ โฺ . ๘. อฏฺ อโุ ปสถา อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, สตตฺ อุโปสถา อตกิ กฺ นตฺ า, อฏฺ อโุ ปสถา ปริปณุ ณฺ า.

335 ท่ีพกั สงฆจ์ นั ทรังษี

ข. ฤดูปวารณา ไม่มอี ธิกมาส

(หมายถึงกลางพรรษา)

๑. สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมฺปตโฺ ต, ฉ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า. ๒. สตตฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, เอโก อโุ ปสโถ อตกิ กฺ นโฺ ต, ปญจฺ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺา. ๓. สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, เทวฺ อโุ ปสถา อตกิ กฺ นตฺ า, จตตฺ าโร จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า. ๔. สตฺต จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ตโย อโุ ปสถา อตกิ กฺ นฺตา, ตโย จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺ า. ๕. สตตฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, จตตฺ าโร อโุ ปสถา อตกิ กฺ นฺตา, เทฺว จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺา. ๖. (วนั ปวารณา) สตตฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอกา ปวารณา สมปฺ ตตฺ า, ปญจฺ อโุ ปสถา อตกิ กฺ นตฺ า เทฺว อุโปสโถ อวสิฏฺ า.

หนงั สือสวดมนต์ 336

๗. สตตฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ปญจฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อตกิ กฺ นตฺ า, เอโก อโุ ปสโถ อวสิฏโฺ . ๘. สตตฺ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ สมฺปตโฺ ต, ฉ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อตกิ กฺ นตฺ า, สตตฺ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา ปรปิ ณุ ฺณา.

ค. ฤดมู ีอธิกมาส ไม่มปี วารณา

(หมายถงึ นอกพรรษา) ๑. อธกิ มาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมฺปตฺโต, นว อโุ ปสถา อวสิฏฺา. ๒. อธกิ มาสวเสน ทส อุโปสถา, อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, เอโก อโุ ปสโถ อตกิ กฺ นโฺ ต, อฏฺ อโุ ปสถา อวสฏิ ฺ า. ๓. อธกิ มาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อมิ ินา ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, เทฺว อุโปสถา อติกฺกนฺตา, สตฺต อโุ ปสถา อวสฏิ ฺา. ๔. อธกิ มาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมฺปตฺโต, ตโย อุโปสถา อตกิ ฺกนฺตา, ฉ อโุ ปสถา อวสฏิ ฺ า.

337 ทพ่ี กั สงฆจ์ นั ทรงั ษี

๕. อธกิ มาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมฺปตโฺ ต, จตตฺ าโร อุโปสถา อติกฺกนฺตา, ปญจฺ อโุ ปสถา อวสิฏฺา. ๖. อธกิ มาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมฺปตฺโต, ปญฺจ อุโปสถา อติกกฺ นตฺ า จตตฺ าโร อุโปสถา อวสฏิ ฺ า. ๗. อธกิ มาสวเสน ทส อุโปสถา, อมิ นิ า ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, ฉ อุโปสถา อตกิ กฺ นฺตา, ตโย อโุ ปสถา อวสฏิ ฺา. ๘. อธิกมาสวเสน ทส อุโปสถา, อมิ นิ า ปกฺเขนเอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, สตฺต อุโปสถา อติกฺกนฺตา, เทฺว อโุ ปสถา อวสฏิ ฺา. ๙. อธิกมาสวเสน ทส อโุ ปสถา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, อฏฺ อโุ ปสถา อตกิ กฺ นตฺ า, เอโก อโุ ปสโถ อวสฏิ ฺโ. ๑๐.อธกิ มาสวเสนทสอโุ ปสถา,อมิ นิ าปกเฺ ขนเอโกอโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, นว อโุ ปสถา อตกิ กฺ นตฺ า, ทส อโุ ปสถา ปรปิ ณุ ณฺ า.

หนังสือสวดมนต์ 338

ง. ฤดทู ม่ี อี ธิกมาส และปวารณาด้วย

(หมายถงึ กลางพรรษา) ๑. อธกิ มาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, อฏฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺา. ๒. อธกิ มาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, เอโก อโุ ปสโถ อตกิ กฺ นโฺ ต, สตฺต จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺ า. ๓. อธกิ มาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, เทวฺ อโุ ปสถา อตกิ ฺกนฺตา, ฉ จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺา. ๔. อธกิ มาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอโก อุโปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, ตโย อุโปสถา อตกิ ฺกนตฺ า, ปญจฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า. ๕. อธิกมาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตโฺ ต, จตตฺ าโร อุโปสถา อตกิ กฺ นตฺ า, จตตฺ าโร จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า. ๖. อธิกมาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตโฺ ต, ปญฺจ อโุ ปสถา

339 ท่พี ักสงฆ์จันทรงั ษี

อตกิ กฺ นฺตา, ตโย จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสิฏฺา. ๗. อธิกมาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมินา ปกฺเขน เอโก อุโปสโถ สมฺปตฺโต, ฉ อุโปสถา อติกฺกนฺตา, เทวฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อวสฏิ ฺ า. ๘. (วนั ปวารณา) อธกิ มาสวเสน นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ นิ า ปกเฺ ขน เอกา ปวารณา สมปฺ ตตฺ า, สตฺต อุโปสถา อติกฺกนฺตา, เทฺว อุโปสถา อวสฏิ ฺา. ๙. อธกิ มาสวเสน นว จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อมิ ินา ปกฺเขน เอโก อโุ ปสโถ สมฺปตฺโต, สตฺต อุโปสถา เอกา จ ปวารณา อตกิ กฺ นฺตา, เอโก อโุ ปสโถ อวสฏิ ฺโ. ๑๐. อธกิ มาสวเสน นว จ อุโปสถา เอกา จ ปวารณา, อิมนิ า ปกเฺ ขน เอโก อโุ ปสโถ สมปฺ ตฺโต, อฏฺ จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา อตกิ กฺ นตฺ า, นว จ อโุ ปสถา เอกา จ ปวารณา ปรปิ ุณณฺ า.

สตั ว์ทง้ั หลายยอ่ มตอ้ งการความสุข ผ้ใู ดแสวงหาสขุ เพอ่ื ตน ไม่เบยี ดเบยี นเขาดว้ ยอาชญา ผนู้ ้นั ละไปแล้ว ย่อมไดส้ ุข

หนังสอื สวดมนต์ 340

การนบั ภิกษุ

ในการนบั พระภิกษตุ ง้ั แต่ ๔ ถงึ ๑,๐๐๐ รปู นน้ั ต้องใช้ วธิ สี วดตา่ งๆ กันดงั นี้ ๑. มีภกิ ษุ ๔-๙๘ รปู ให้เอาคำ� บาลใี นช่วง ๔- ๙๘ มา ตอ่ ขา้ งหน้า “ภิกขฺ ู สนฺนิปตติ า โหนฺต”ิ เช่น มภี กิ ษุ ๗๗ รปู จะสวดวา่ “สตตฺ สตฺตติ ภิกขฺ ู สนนฺ ิปตติ า โหนฺติ” ๒. มภี ิกษุ ๙๙-๑๙๙ รปู ให้เอาคำ� บาลีในช่วง ๙๙-๑๙๙ มาตอ่ ขา้ งหน้า “สนนฺ ปิ ตติ ํ โหติ” เช่น มภี ิกษุ ๑๒๓ รูปจะ สวดว่า “เตวสี ตยฺ ุตตฺ รภิกฺขสุ ตํ สนฺนิปตติ ํ โหติ” ๓. มภี กิ ษุ ๒๐๐-๒๙๙ รปู ใหเ้ อาคำ� บาลใี นชว่ ง ๒๐๐-๒๙๙ มาตอ่ ขา้ งหนา้ “ภกิ ขฺ สุ ตานิ สนนฺ ปิ ตติ านิ โหนตฺ ”ิ เชน่ มภี กิ ษุ ๒๖๗ รูปจะสวดว่า “สตฺตสฏฺ€ยุตฺตรานิ เทฺว ภิกฺขุสตานิ สนนฺ ปิ ติตานิ โหนฺติ” ๔. มภี กิ ษุ ๓๐๐-๓๙๙, ๔๐๐-๔๙๙, ๕๐๐-๕๙๙, ๖๐๐-๖๙๙, ๗๐๐-๗๙๙, ๘๐๐-๘๙๙, ๙๐๐-๙๙๙ รูป ใหท้ ำ� เชน่ เดยี วกบั ในขอ้ ๓. เพยี งแตเ่ ปลย่ี นจาก “เทวฺ ” เปน็ “ตีณ,ิ จตตฺ าริ, ปญจฺ , ฉ, สตตฺ , อฏฺ€, นว” ตามเลขหลักร้อยของจ�ำนวนพระที่เปล่ียนไปตามล�ำดับ เช่น มีภิกษุ ๓๖๗ รูปจะสวดวา่ “สตตฺ สฏ€ฺ ยตุ ฺตรานิ ตณี ิ ภิกฺขสุ ตานิ สนฺนปิ ตติ านิ โหนฺต”ิ มภี ิกษุ ๔๔๐ รูปจะสวดว่า

341 ทพ่ี กั สงฆจ์ นั ทรังษี

“จตตฺ าฬีสตุ ฺตรานิ จตฺตาริ ภิกขฺ ุสตานิ สนนฺ ิปติตานิ โหนตฺ ”ิ มีภกิ ษุ ๕๑๒ รปู จะสวดว่า “ทวฺ าทสุตฺตรานิ ปญฺจ ภกิ ฺขุสตานิ สนนฺ ิปตติ านิ โหนตฺ ”ิ มีภกิ ษุ ๖๔๙ รปู จะสวดวา่ “เอกูนปญฺสตุ ฺตรานิ ฉ ภิกขฺ ุสตานิ สนนฺ ปิ ติตานิ โหนฺติ” มภี กิ ษุ ๗๗๑ รปู จะสวดวา่ “เอกสตฺตตฺยุตตฺ รานิ สตฺต ภกิ ฺขุสตานิ สนนฺ ิปติตานิ โหนตฺ ิ” มีภกิ ษุ ๘๓๔ รปู จะสวดว่า “จตตุ ึสุตฺตรานิ อฏ€ฺ ภกิ ฺขสุ ตานิ สนนฺ ปิ ติตานิ โหนฺต”ิ มภี กิ ษุ ๙๙๙ รูปจะสวดวา่ “เอกนู สตุตฺตรานิ นว ภกิ ขฺ สุ ตานิ สนฺนปิ ติตานิ โหนฺติ” ๕. มีภิกษุ ๑,๐๐๐ รปู จะสวดวา่ “ภกิ ฺขสุ หสฺสํ สนนฺ ิปตติ ํ โหติ” ๔. จตฺตาโร ๕. ปญฺจ ๖. ฉ ๗. สตตฺ ๘. อฏฺ€ ๙. นว ๑๐. ทส ๑๑. เอกาทส ๑๒. พารส ๑๓. เตรส ๑๔. จตุตทฺ ส ๑๕. ปณฺณรส ๑๖. โสฬส ๑๗. สตฺตรส ๑๘. อฏ€ฺ ารส ๑๙. เอกูนวสี ติ ๒๐. วสี ติ ๒๑. เอกวสี ติ

หนงั สอื สวดมนต์ 342

๒๒. พาวีสต ิ ๒๓. เตวสี ต ิ ๒๔. จตวุ ีสติ ๒๕. ปญจฺ วีสติ ๒๖. ฉพฺพีสติ ๒๗. สตฺตวีสติ ๒๘. อฏ€ฺ วีสติ ๒๙. เอกูนตสึ ๓๐. สมตสึ ๓๑. เอกตฺตสึ ๓๒. ทฺวตฺตึส ๓๓. เตตตฺ ึส ๓๔. จตตุ ตฺ ึส ๓๕. ปจฺ ตฺตสึ ๓๖. ฉตฺตสึ ๓๗. สตฺตตตฺ ึส ๓๘. อฏ€ฺ ตตฺ สึ ๓๙. เอกูนจตตฺ าฬีส ๔๐. จตตฺ าฬสี ๔๑. เอกจตฺตาฬีส ๔๒. ทวฺ ิจตตฺ าฬีส ๔๓. เตจตตฺ าฬีส ๔๔. จตจุ ตตฺ าฬีส ๔๕. ปฺจจตตฺ าฬสี ๔๖. ฉจตตฺ าฬสี ๔๗. สตตฺ จตฺตาฬีส ๔๘. อฏ€ฺ จตตฺ าฬีส ๔๙. เอกนู ปญฺ าส ๕๐. ปญฺาส ๕๑. เอกปญฺาส ๕๒. ทวฺ ิปญฺาส ๕๓. เตปญฺาส ๕๔. จตุปญฺ าส ๕๕. ปญจฺ ปญฺาส ๕๖. ฉปญฺ าส ๕๗. สตฺตปญฺ าส ๕๘. อฏฺ€ปญฺาส ๕๙. เอกูนสฏ€ฺ ี ๖๐. สฏฺ€ี ๖๑. เอกสฏ€ฺ ี ๖๒. ทวฺ ิสฏ€ฺ ี ๖๓. เตสฏ€ฺ ี ๖๔. จตสุ ฏ€ฺ ี ๖๕. ปญจฺ สฏ€ฺ ี

343 ท่พี ักสงฆจ์ นั ทรงั ษี