ต วอย างคนท ไม ม ภาวะความเป นผ นำ

บุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ คือ รูปแบบหนึ่งในการจัดกลุ่มของบุคลิกภาพที่ได้รับความนิยมจากนักจิตวิทยาว่าสามารถช่วยอธิบายถึงโครงสร้างของบุคลิกภาพของบุคคลในระดับสากลได้

โดยบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบแบ่งเป็น 5 มิติใหญ่ๆ ดังนี้

ต วอย างคนท ไม ม ภาวะความเป นผ นำ

1. Neuroticism – ความไม่มั่นคงทางอารมณ์

เป็นแนวโน้มในการเกิดประสบการณ์อารมณ์ทางลบของบุคคล เป็นความบกพร่องในการปรับตัวทางอารมณ์ของบุคคล ซึ่งเป็นแนวโน้มที่จะเกิดภาวะความเครียดทางจิตใจ เช่น ความรู้สึกวิตกกังวล ไม่มั่นคง ประหม่า กลัว ซึมเศร้า โกรธ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงภาวะอารมณ์ที่สับสนที่แทรกซ่อนต่อการปรับตัวด้วย

บุคคลที่มีบุคลิกภาพด้านนี้สูง มีแนวโน้มที่จะมีความคิดที่ขาดเหตุผล มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ของตนเองน้อย และเผชิญต่อความเครียดได้ไม่มีเท่าคนอื่น และอาจเสี่ยงต่อการมีปัญหาทางจิตบางชนิดได้ บุคคลที่มีบุคลิกภาพด้านนี้ต่ำ จะเป็นบุคคลที่ไม่ค่อยซึมเศร้าง่าย ไม่ค่อยมีอารมณ์ทางลบ ค่อนจ้างเป็นคนที่สงบ มีความมั่นคงทางอารมณ์ และมีอารมณ์ลบคงอยู่ได้ไม่นาน แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นบุคคลที่มีอารมณ์ทางบวกสูงเสมอไป

2. Extraversion – การเปิดตัว

เป็นลักษณะของบุคคลที่ชอบเข้าสังคม ชอบการพบปะพูดคุยกับผู้อื่น ชอบอยู่ในกลุ่มคน มีลักษณะเป็นคนเปิดเผยตนเอง มีอารมณ์ทางบวกเกินขึ้นได้บ่อย มีแนวโน้มที่จะเป็นคนมีนิสัยร่าเริง มองโลกในแง่ดี กระตือรือร้น ชอบตุการณ์ที่ตื่นเต้นเร้าใจ และเรียกร้องสิทธิ์ของตนเอง

บุคคลที่มีลักษณะตรงกันข้ามเรียกว่า Introvert มักเป็นคนที่ค่อนข้างเงียบ ไม่ชอบเข้าสังคม ชอบอยู่คนเดียว แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเป็นคนที่ขาดทักษะทางสังคมหรือขี้อาย หากแต่เป็นบุคคลที่ต้องการอยู่คนเดียว ไม่ชอบการกระตุ้นจากสังคม จึงดูเหมือนเป็บคนที่ไม่เป็นมิตรหรือไม่สนใจผู้อื่น

3. Openness to Experience – การเปิดรับประสบการณ์

บุคคลที่มีบุคลิกภาพด้านนี้สูง จะเป็นคนที่ค่อนข้างมีจินตนาการ ไวต่อความรู้สึก รับรู้ความงามของศิลปะ ไวต่อความงาม ชอบใช้สติปัญญา รับรู้อารมณ์ความรู้สึกของตนเองได้ดี

บุคคลที่มีบุคลิกภาพด้านนี้ต่ำ มักชอบมีความคิดแบบอนุรักษ์นิยม ชอบคิดตามกรอบประเพณีดัง้เดิม ชอบสิ่งที่เรียบๆ ไม่ซับซ้อนหรือลักซึ้งมากนัก ไม่สนใจด้านศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ การตอบสนองทางอารมณ์ไม่มากนัก

4. Agreeableness – ความเป็นมิตร

เป็นแนวโน้มของบุคคลที่จะยอมตามผู้อื่น ชอบที่จะร่วมมือ ชอบความกลมกลืนทางสังคม เห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นก่อนตนเอง บุคคลที่มีบุคลิกภาพด้านนี้สูง มักจะมีค่านิยมที่เกี่ยวกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น มองธรรมชาติของมนุษย์ในแง่ดี มีความซื่อสัตย์จิตใจดี และไว้วางใจได้ จึงมักจะมีลักษณะนิสัยที่มีความเป็นกันเอง เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ชอบช่วยเหลือผู้อื่น ชอบความปรองดอง

บุคคลที่มีบุคลิกภาพด้านนี้ต่ำ มักจะสนใจในผลประโยชร์ของตนเองเป็นหลัก มากกว่าการได้อยู่ร่วมกับผู้อื่น มักจะไม่สนใจในทุกข์สุขของผู้อื่น ไม่ชอบช่วยเหลือผู้อื่น บางครั้งมีความสงสัยในแรงจูงในของการกระทำของผู้อื่น จึงมีความหวาดระแวง ไม่เป็นมิตร และไม่ชอบทำงานร่วมกับผู้อื่น

5. Conscientiousness – การมีจิตสำนึก

เป็นแนวโน้มของบุคคลที่จะแสดงความมีวินัยในตนเอง รู้จักหน้าที่ มีจุดมุ่งหมายที่จะประสบความสำเร็จ บุคคลที่มีบุคลิกภาพด้านนี้สูง มักจะชอบวางแผนล่วงหน้า ส่งผลให้เป็นคนที่มีการควบคุมการกระทำของตนเอง และกำหนดทิศทางความต้องการภายในให้มีการแสดงออกอย่างเหมาะสม หลีกเลี่ยงที่จะไม่กระทำในสิ่งที่มองเห็นว่าจะมีปัญหาเกิดขึ้น ถูกมองจากผู้อื่นว่าเป็นคนฉลาด เชื่อถือได้ ส่วนในแง่ลบ มักเป็นคนทำงานหนักมากเกินไป มีแนวโน้มต้องการความสมบูรณ์แบบ จริงจังกับทุกเรื่อง จึงดูเป็นคนเคร่งเครียดตลอดเวลา ไม่มีชีวิตชีวา น่าเบื่อ

บุคคลที่มีบุคลิกภาพด้านนี้ต่ำ จะเป็นคนที่ไม่ค่อยมีความทะเยอทะยาน ไม่มีจุดมุ่งหมายในชีวิต ดูไม่น่าเชื่อถือ ดำรงชีวิตไปตามความต้องการระยะสั้นของตนเอง ไม่สามารถทำตามแบบแผนที่ถูกกำหนดได้ แต่ก็จะเป็นบุคคลที่ไม่น่าเบื่อและไม่เครียดเครียดกับสิ่งต่างๆ มากเกินไป


รายการอ้างอิง

“โมเดลเชิงสาเหตุของการปฎิบัติงานแบบกลุ่ม : อิทธิพลของบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ส่งผ่านความรู้เกี่ยวกับการทำงานแบบกลุ่ม บุคลิกลักษณะผัดวันประกันพรุ่ง และปฏิสัมพันธ์” โดย กุลชนา ช่วยหนู (2552) – http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15720

“ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ต่อความพึงพอใจในความสัมพันธ์ของคู่รัก โดยมีองค์ประกอบของความรักทั้งสามเป็นตัวแปรส่งผ่าน” โดย สิริภรณ์ ระวังงาน (2553) – http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37529

Home \> สังเกตตัวเองด่วน!! สัญญาณเตือนอาการโรคเบาหวาน

“เบาหวาน” เป็นภาวะที่ร่างกายมีน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากการขาดฮอร์โมนอินซูลิน ส่งผลให้กระบวนการดูดซึมน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงานของเซลล์ในร่างกายมีความผิดปกติหรือทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ จนเกิดน้ำตาลสะสมในเลือดปริมาณมาก หากปล่อยให้ร่างกายอยู่ในสภาวะนี้เป็นเวลานานจะทำให้อวัยวะต่าง ๆ เสื่อม เกิดโรคและอาการแทรกซ้อนขึ้น หากมีอาการเหล่านี้ ควรได้รับการตรวจน้ำตาลในเลือด

สังเกตตัวเองด่วน!! คุณมีอาการเสี่ยงโรคเบาหวาน หรือไม่!!?

โรคเบาหวาน นั้นบางทีเกิดขึ้นโดยไม่มีอาการอะไรบ่งบอก ค่อยๆ ก่อตัวขึ้นอย่างเงียบๆ หากไม่ได้รับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ก็จะไม่ทราบว่าเป็นเบาหวาน จนกระทั่งโรคดำเนินไปมากแล้วจึงจะรู้ตัว

บางครั้งผู้ป่วยมาพบแพทย์ เนื่องจากมีโรคแทรกซ้อนเกิดขึ้นโดยที่ตนเองไม่รู้ตัวมาก่อนเลยว่าเป็นเบาหวาน ซึ่งหากปล่อยไว้ในบางราย อาจสายเกินกว่าที่จะเรียกสุขภาพที่ดีกลับคืนมาได้ ดังนั้น เราควรตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตนเองด้วยว่าอาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นนี้เกี่ยวกับโรคเบาหวานหรือไม่

  • ปัสสาวะบ่อย ถึงบ่อยมาก เนื่องจากกระบวนการกรองน้ำตาลในเลือดที่สูงมากออกมากทางปัสสาวะ ไตจำเป็นต้องดึงน้ำออกมาด้วย ดังนั้น ผู้ป่วยยิ่งมีระดับน้ำตาลสูงมากเท่าใดก็ยิ่งปัสสาวะบ่อยและมากขึ้นเท่านั้น ทำให้ต้องตื่นมาเข้าห้องน้ำตอนกลางคืนหลายครั้ง
  • คอแห้ง กระหายน้ำ เป็นผลมาจากการที่ร่างกายเสียน้ำไปจากการปัสสาวะบ่อยและมาก ทำให้เกิดภาวะขาดน้ำจึงต้องชดเชยด้วยการดื่มน้ำบ่อยๆ
  • หิวบ่อย กินจุ เนื่องจากร่างกายขาดพลังงาน จึงทำให้รู้สึกหิวบ่อย และรับประทานจุ
  • น้ำหนักลด เนื่องจากในภาวะที่ขาดอินซูลิน ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้เป็นพลังงานได้ ร่วมกับการขาดน้ำจากการปัสสาวะบ่อย ร่างกายจึงจำเป็นต้องนำเอาโปรตีนและไขมันที่เก็บสะสมไว้ในเนื้อเยื่อมาใช้แทน จึงทำให้ร่างกายรู้สึกอ่อนเพลีย และน้ำหนักตัวลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ
  • คันตามผิวหนัง
  • ตามัว ชาปลายมือ ปลายเท้า
  • เป็นแผลง่าย หายยาก

ต วอย างคนท ไม ม ภาวะความเป นผ นำ


รู้ทันโรคเบาหวาน – ด้วยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด

การตรวจว่าเราเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ สามารถทำได้ด้วยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด หรือการเจาะน้ำตาลหลังอดอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดมาแล้วอย่างน้อย 8 ชั่วโมง (Fasting Blood Sugar: FBS) โดยระดับน้ำตาลในเลือดจะสามารถบ่งบอกถึงปริมาณของกลูโคสในกระแสเลือด ณ ขณะนั้นว่าอยู่ในระดับใด ซึ่งการตรวจน้ำตาลในเลือดนี้เป็นการตรวจที่ช่วยคัดกรองและวินิจฉัยว่าเรามีเสี่ยงเป็นเบาหวานหรือไม่

ปัจจุบัน เราสามารถตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดได้ด้วยตนเอง (Self Monitoring of Blood Glucose) ซึ่งสามารถตรวจได้เองเป็นประจำ มีข้อดีคือ ทำให้ทราบความเสี่ยงว่าเป็นเบาหวานหรือไม่ และทำให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานสามารถปรับพฤติกรรมการดูแลตนเองได้ทันที

ภาวะความเป็นผู้นํา มีอะไรบ้าง

ผู้ทีจะเป็นผู้นํา ต้องมีคุณลักษณะดังนี 1. มีความรู้ ความสามารถสูง 2. เป็นตัวอย่างทีดี น่าเคารพนับถือ 3. มีความกล้าหาญ กล้าคิด กล้าทํา 4. มีความกระตือรือร้น ทันความเปลียนแปลง 5. มีลักษณะท่าทางดี น่าเลือมใส 6. มีคุณธรรม จริยธรรม 7. มีจุดยืน มีระเบียบวินัย แต่บางครังต้องยืดหยุ่น 8. มีวุฒิภาวะสูง วางตัวเหมาะสม

ความสำคัญของภาวะผู้นำ คืออะไร

ภาวะความเป็นผู้นำจะทำให้เรารู้หน้าที่ของตัวเอง รู้ว่าอะไรที่เราควรจะทำ และอะไรที่ไม่ควรทำ ในแง่ของหน้าที่และความรับผิดชอบที่มีต่อตัวเอง คนทำงานที่มีภาวะผู้นำจะรู้จักงานของตัวเองดี โดยไม่จำเป็นต้องให้ใครมาออกคำสั่ง หรือคอยเตรียมงานให้อยู่ตลอดเวลา เพราะเขาสามารทำงานนี้ได้เอง และรู้ว่าต้องทำอย่างไร ตัวเองก็จะไม่รู้สึกว่า ...

5 Leadership Skill มีอะไรบ้าง

5 ทักษะที่ผู้นำต้องมีในภาวะวิกฤติ.

1. Crisis Communication - ทักษะการสื่อสารในภาวะวิกฤติ ... .

2. Collaboration - ทักษะการสร้างความร่วมมือกัน ... .

3. Critical Thinking and Decision-Making - ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และการตัดสินใจ ... .

4. Cognitive Flexibility - ทักษะความคิดที่ยืดหยุ่น ... .

5. Prioritization - ทักษะการจัดลำดับความสำคัญ.

ภาวะผู้นำในองค์กรมีความสำคัญอย่างไร

1. เป็นส่วนที่ดึงความรู้ความสามารถต่างๆ ในตัวผู้บริหารเองออกมาใช้ 2. ช่วยประสานความขัดแย้งต่างๆ ภายในหน่วยงาน 3. ช่วยโน้มน้าวชักจูงให้บุคลากรทุ่มเทความรู้ความสามารถให้แก่องค์การ 4. เป็นหลักยึดให้แก่บุคลากรเมื่อหน่วยงานเผชิญสภาวะคับขัน