อัตราจังหวะ 4/4 ใน 1 ห้องเพลงมีกี่จังหวะ

อัตราจังหวะ 4/4 ใน 1 ห้องเพลงมีกี่จังหวะ

Advertisement

การอ่านโน้ตเพลงไทย
                ในการอ่านโน้ตขลุ่ยให้เข้าใจและปฏิบัติได้เร็วนั้น ผู้เรียนจะต้องมาทำความรู้จักส่วนต่างๆและวิธีการบันทึกโน้ตแบบไทยให้เข้าใจเสียก่อน
1.ห้องเพลง          เพลงไทยแต่ละเพลงนั้นจะมีความยาวไม่เท่ากัน เช่นบางเพลงอาจจะมี 2 ท่อน หรือ ท่อนเดียวก็ได้
ไม่แน่นอน แต่ละท่อนของแต่ละเพลงก็มีความยาวไม่เท่ากัน ท่อนที่ 1 ของเพลงหนึ่งอาจจะมี 4 บรรทัด
ของอีกเพลงหนึ่งอาจจะมี 8 บรรทัด ก็ได้ แต่ที่ครูดนตรีไทยกำหนดไว้ตายตัวนั่นก็คือใน 1 บรรทัด
จะกำหนดให้มีเพียง 8 ห้องเพลงเท่านั้น
ส่วนจำนวนบรรทัดอยู่ที่ความยาวของแต่ละเพลง

2.การเขียนโน้ตลงในห้องเพลง       โดยทั่วไปใน 1 ห้องเพลงจะบันทึกตัวโน้ตได้ อย่างมาก 4 ตัว
(ยกเว้นโน้ตทางเก็บ หรือ สะบัด)    เช่น

ซ ม ซ ซ

ซ ล ซ ซ

ดํ ล ดํ ดํ

ดํ รํ ดํ ดํ

ซํ มํ ซํ รํ

มํ รํ ดํ ล

ซ ล ดํ รํ

ดํ ล ดํ ซ

กรณีที่ 1  ใน 1 ห้องเพลงมีโน้ต 4 ตัว
เพื่อความสะดวกในการฝึกหัดอ่านโน้ตเพลงไทย จึงกำหนดให้ใน 1 ห้องเพลงมี 4 จังหวะ โดยให้มีจังหวะยก
2 จังหวะและ จังหวะตก 2 จังหวะ (ผู้ที่ชำนาญแล้วมักจะนับ 1 ห้องเพลง เท่ากับ 1 จังหวะเท่านั้น)
โดยกำหนดให้โน้ตตำแหน่งตัวที่ 1 และตำแหน่งตัวที่ 3 เป็นจังหวะยกและโน้ตตำแหน่งตัวที่ 2
และตำแหน่งตัวที่ 4 เป็นจังหวะตก         ดังนี้

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
ซ ม  ซ  ซ

ซ  ล  ซ  ซ

 ดํ  ล  ดํ  ดํ

 ดํ  รํ  ดํ   ดํ

 ซํ   มํ ซํ  รํ

  มํ  รํ  ดํ ล

ซ  ล ดํ  รํ

ดํ  ล ดํ ซ

^     หมายถึง จังหวะยก                   v    หมายถึง จังหวะตก
กรณีที่ 2 ใน 1 ห้องเพลงมี โน้ต 3 ตัว  มีหลักในการปฏิบัติ ดังนี้
โน้ตตำแหน่งตัวที่ 1 และตำแหน่งตัวที่ 3 เป็นจังหวะยก
                                และ        โน้ตตำแหน่งตัวที่ 2 และตำแหน่งตัวที่ 4 เป็นจังหวะตก         เช่นเดิม
แต่  ตำแหน่งใดไม่มีตัวโน้ตหมายถึงตำแหน่งนั้นไม่มีทำนองเพลงแต่ก็ยังกำหนดจังหวะยก หรือ จังหวะตกไว้เช่นเดิม

เช่น

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
_  ม  ซ  ซ

_   ล  ซ  ซ

 _  ล  ดํ  ดํ

_    รํ  ดํ   ดํ

 _   มํ  ซํ  รํ

_    รํ  ดํ  ล

_  ล ดํ  รํ

_  ล ดํ ซ

   ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
ซ  ม  ซ  _

ซ  ล  ซ   _

 ดํ  ล  ดํ   _

 ดํ  รํ  ดํ   _

 ซํ   มํ ซํ  _

  มํ  รํ  ดํ  _

ซ  ล ดํ  _

ดํ  ล ดํ _

   ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
ซ ม   _  ซ

ซ  ล   _  ซ

 ดํ  ล  _   ดํ

 ดํ  รํ  _   ดํ

 ซํ   มํ  _  รํ

  มํ  รํ  _  ล

ซ  ล _  รํ

ดํ  ล _ ซ

   ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
ซ _   ซ  ซ

ซ  _   ซ  ซ

 ดํ  _   ดํ  ดํ

 ดํ  _  ดํ   ดํ

 ซํ   _ ซํ  รํ

  มํ  _  ดํ ล

ซ  _ ดํ  รํ

ดํ  _ ดํ ซ

  ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

       แบบผสม

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
_  ม  ซ  ซ

ซ  _   ซ  ซ

 ดํ  ล  _  ดํ

 ดํ  รํ  ดํ   _

 _   มํ ซํ  รํ

  _   รํ  ดํ ล

ซ  ล _  รํ

_   ล ดํ ซ

   ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก
กรณีที่ 3 ใน 1 ห้องเพลงมีโน้ต 2 ตัว             
ให้ใช้หลักการเดียวกับ กรณีที่ 2  คือตำแหน่งจังหวะยก หรือ จังหวะตก ยังเหมือนเดิม ตำแหน่งใดไม่มีตัวย่อมหมายถึงตำแหน่งนั้นไม่มีทำนองเพลง         เช่น

     

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
 _  ม  _  ซ

 _  ล  _   ซ

 _   ล  _  ดํ

 _  ดํ   _   ดํ

 _   มํ  _  รํ

   _  รํ  _ ล

_  ล _   รํ

_  ล  _ ซ

  ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
_  _  ซ  ซ

_  _  ซ  ซ

 _  _  ดํ  ดํ

 _  _  ดํ   ดํ

 _  _  ซํ  รํ

  _  _  ดํ ล

_  _ ดํ  รํ

_  _ ดํ ซ

  ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
ซ ม  _  _

ซ  ล  _   _

 ดํ  ล  _  _

 ดํ  รํ  _   _

 ซํ   มํ _  _

  มํ  รํ  _  _

ซ  ล _  _

ดํ  ล _  _

  ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
_  ม  ซ   _

_   ล  ซ   _

 _   ล  ดํ  _

 _  รํ   ดํ   _

 _   มํ  ซํ  _

  _   รํ  ดํ _

_  ล ดํ  _

_  ล ดํ  _

   ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
ซ  _   _  ซ

ซ  _   _   ซ

 ดํ   _  _  ดํ

 ดํ  _   _   ดํ

 ซํ   _  _  รํ

  มํ   _  _ ล

ซ  _ _  รํ

ดํ  _  _ ซ

   ^    ^   หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

        แบบผสม

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
ซ _   ซ   _

ซ  ล   _   _

 _   ล  ดํ  _

 _   _  ดํ   ดํ

 ซํ   _  _  รํ

  มํ  รํ   _ _

_  _ ดํ  รํ

_  ล _ ซ

   ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

กรณีที่ 4                 ในหนึ่งห้องเพลงมีโน้ตเพียงตัวเดียว
                ใช้หลักการเดียวกันกับกรณีที่ 3 นั่นเอง หมายความว่าจังหวะยก หรือ จังหวะตก ยังเหมือนเดิม

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
_   _   _  ซ

_   _   _   ซ

 _   _  _  ดํ

 _   _   _   ดํ

 _   _   _  รํ

  _   _  _ ล

_  _  _  รํ

_   _  _ ซ

   ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
_   _  ซ  _

_   _   ซ  _

 _   _  ดํ  _

 _   _  ดํ   _

 _    _ ซํ  _

  _   _  ดํ _

_   _ ดํ  _

_   _ ดํ  _

  ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
_   ม  _  _

_   ล  _   _

 _   ล  _  _

 _  รํ   _   _

 _   มํ  _  _

  _  รํ  _  _

_  ล  _  _

_  ล _   _

  ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
ซ  _   _  _

ซ  _   _   _

 ดํ   _   _ _

 ดํ  _   _   _

 ซํ   _  _  _

  มํ  _  _  _

ซ  _  _  _

ดํ  _  _  _

  ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

หรือ

     แบบผสม

^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v ^  v   ^  v
ซ  _   _  _

_   _   ซ  _

 _   ล  _  _

 _   _   _   ดํ

 ซํ   _  _  _

  _   รํ  _  _

_  _  _  รํ

_  _  _ ซ

   ^     หมายถึง จังหวะยก                               v    หมายถึง จังหวะตก

อัตราจังหวะ 4/4 คืออะไร

4/4 คืออัตราจังหวะที่มีกลุ่มโน้ตตัวด่า 4 กลุ่มจังหวะ ต่อ 1 ห้อง เลขตัวล่าง 4 แสดงค่าโน้ตตัวด่าเท่ากับ 1 จังหวะใหญ่ Page 22 อัตราจังหวะสี่ธรรมดา (Simple quadruple time) 4/8 คืออัตราจังหวะที่มีกลุ่มโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น 4 กลุ่มจังหวะ ต่อ 1 ห้อง เลขตัวล่าง 8 แสดงค่าโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น เท่ากับ 1 จังหวะใหญ่

อัตราจังหวะ 2/4 ใน 1 ห้องเพลงมีจังหวะกี่จังหวะ

การอ่านเครื่องหมายกำหนดจังหวะ หลักการอ่านเครื่องหมายกำหนดจังหวะที่เป็นตัวเลขจะต้องอ่านเลขตัวบนก่อนแล้วตามด้วยเลขตัวล่าง เช่น อ่านว่า "สองสี่" มีความหมายว่า บทเพลงนั้นมีอัตราจังหวะห้องละ 2 จังหวะเคาะ และกำหนดให้ใช้โน้ตตัวดำมีค่าเท่ากับ 1 จังหวะ

อัตราจังหวะ 3/4 ใน 1 ห้องเพลงมีกี่จังหวะ

จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า เครื่องหมายกำหนดจังหวะ สาม – สี่ หมายความว่าภายในหนึ่งห้องเพลงที่กำหนดด้วยเครื่องหมายกำหนดจังหวะนี้ประกอบด้วยตัวโน้ตตัวดำ (เลข 4 ตัวล่าง) ได้จำนวน 3 ตัว (เลข 3 ตัวบน) ในการปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้อง มี 3 จังหวะ ในอีกความหมายหนึ่งก็คือ ภายหนึ่งห้องจะประกอบด้วยตัวโน้ตหรือตัวหยุดชนิดใดก็ได้แต่รวม ...

ใน 1 ห้องเพลง มี กี่ จังหวะ

โครงสร้างโน้ตเพลงไทย ๑. โน้ตเพลงไทย อักษรไทย แทน ระดับเสียง เช่น ด ร ม ฟ ซ ล ท ดํ ดังได้กล่าว มาแล้ว ดังนั้นในการบันทึกโน้ตไทยตามมาตรฐานใน ๑ แถว หรือ ๑ บรรทัดจะมีห้องเพลง โดยในแต่ละห้องเพลงจะมีจังหวะ ซึ่งหมายถึงสามารถใส่เสียงหรือใส่ โน้ตไปได้ ๔ ตัวโน้ตในแต่ละห้องเพลงนั่นเอง