การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครกำหนดแนวทางการพัฒนาเมืองตามการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทางราง ซึ่งในขณะนี้มีการพัฒนาระบบรถไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากในกรุงเทพฯ แต่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน สวนสาธารณะ สาธารณูปโภค หรือสาธารณูปการอื่น ๆ ไม่ทันการพัฒนาในเมืองที่เกิดขึ้น ทำให้กรุงเทพฯ มีความแออัด ไม่ได้รับการจัดระเบียบการพัฒนาเมืองให้เหมาะสมกับโครงสร้างพื้นฐาน 

ดังนั้น กทม.จะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้สอดคล้องกับการกำหนดการพัฒนาเมืองตามแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อให้เมืองมีความหนาแน่นที่เหมาะสม และมีโครงสร้างพื้นฐานเพียงพอ

หากมีข้อเสนอแนะ (คลิก)

Improving infrastructure to further develop the city


What will Bangkok residents get?

  - Infrastructures that accommodate city development, providing more choices on travel routes and easing traffic issues

  - Appropriate number and size of public spaces and green areas

Details

Bangkok comprehensive city plan is laid out around the development of rail transports, several of which are underway. However, other infrastructures such as roads, parks, utilities, and public assistance systems are so underdeveloped that they cannot meet the ever-changing needs of the city. As a result, Bangkok is cramped and undermanaged, lacking improvement in necessary infrastructures.

The BMA will provide the needed improvements in essential infrastructures, in accordance to urban development agendas on land use, so that the density of population is on acceptable levels and adequate infrastructures are built for public use.

โครงสร้างพื้นฐาน มีกี่ประเภท

2 ชนิดของโครงสร้างพื้นฐาน 2.1 ระบบคมนาคม 2.2 ระบบพลังงาน

Infrastructure มีอะไรบ้าง

โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) หมายถึง สิ่งปลูกสร้างและระบบพื้นฐานที่รองรับการขยายตัวของชุมชนที่มาพร้อมกับ ระบบสาธารณูปโภค (ด้านน้ำประปา บำบัดน้ำเสีย ไฟฟ้า กำจัดขยะ) ระบบขนส่ง (ถนน ทางรถไฟ ท่าเรือ ท่าอากาศยาน ระบบท่อ) และ ระบบการสื่อสาร (เครือข่ายโทรศัพท์ สัญญาณอินเตอร์เน็ต) เป็นต้น

อะไรคือองค์ประกอบของโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)

ถนน และทางหลวง รวมถึงโครงสร้างที่เกี่ยวข้องเช่น สะพาน อุโมงค์ ท่อระบายน้ำ กำแพงกันดิน ป้ายบอกทาง ไฟถนน ไฟจราจร ทางเท้า ระบบขนส่งทางราง รวมถึง รถไฟ รางรถไฟ สถานีรถไฟ คลอง

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศมีผลดีต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างมี ประสิทธิภาพถือว่าเป็นปัจจัยสําคัญหลักปัจจัยหนึ่งต่อ การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน การเพิ่ม ศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการเตรียม ความพร้อมทางด้านเศรษฐกิจ ให้มีความเข้มแข็งและ เอื้ออํานวยต่อการบรรลุวัตถุประสงค์การพัฒนาในทุก ๆ ด้านของประเทศ