การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กรุ๊ปเลือด

การนำหมู่โลหิตของพ่อ/แม่ และเด็กมาเปรียบเทียบกันนั้นไม่เพียงพอจะบ่งชี้ความเป็นบิดาหรือมารดาได้ เพราะบุตรในทางพันธุกรรมของคุณอาจไม่ได้มีหมู่โลหิตที่เหมือนกันกับของคุณเสมอไป มาดูเหตุผลกันว่าเป็นเพราะเหตุใด

โดยทั่วไปแล้ว รูปแบบการจัดหมู่โลหิตที่นิยมใช้กันมากที่สุด คือแบบ ABO system ซึ่งแบ่งหมู่โลหิตของมนุษย์ได้เป็น 4 หมู่โลหิต ได้แก่ A, B, AB และ O   หมู่โลหิตเหล่านี้ถูกกำหนดโดยสิ่งที่เรียกว่า แอนติเจน (antigen) ซึ่งเป็นโมเลกุลเล็ก ๆ ที่ติดอยู่บนพื้นผิวเม็ดเลือดแดงของคุณ ถ้าลองจินตนาการว่าเม็ดเลือดแดงเปรียบเสมือนผลสตรอเบอร์รี่ แอนติเจนก็คือเมล็ดสตรอเบอร์รี่สีเหลือง ๆ ที่ติดอยู่ทั่วพื้นผิวด้านนอกของผลไม้ชนิดนี้    คนที่มีหมู่โลหิต A จะมี A-antigen, คนที่มีหมู่โลหิต B จะมี B-antigen, คนที่มีหมู่โลหิต AB จะมีทั้ง A-antigen และ B-antigen ส่วนคนที่มีหมู่โลหิต O จะไม่มีแอนติเจนใด ๆ บนพื้นผิวเม็ดเลือดแดงเลย

การปรากฏของแอนติเจนต่าง ๆ นี้ ถูกกำหนดโดยยีนที่มีชื่อว่า ABO histo-blood Group Gene ซึ่งอยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 9 ของมนุษย์ โดยยีนนี้จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ “i” ซึ่งมีปรากฏอยู่ 3 รูปแบบ โดยสองแบบแรกคือ“iA” และ “iB” ซึ่งจัดว่าเป็นยีนเด่นทำให้เกิดการปรากฏของ A-antigen และ B-antigen ตามลำดับ และแบบสุดท้ายคือ “iO” ซึ่งจัดว่าเป็นยีนด้อยไม่ทำให้เกิดการปรากฏของแอนติเจน   ในกรณีที่ยีนเด่นและยีนด้อยอยู่ร่วมกัน ยีนเด่นจะยับยั้งการแสดงออกของยีนด้อยเสมอ ปรากฏการณ์นีเรียกว่าการแสดงออกร่วมกัน หรือ Co-Dominant

เช่นเดียวกับโครโมโซมอื่น ๆ ที่อยู่กันเป็นคู่ โครโมโซมคู่ที่ 9 ก็มีคู่ของมันเช่นกัน ทำให้เกิดรูปแบบของยีนและการแสดงออกร่วมกันของยีนที่ควบคุมการปรากฏของแอนติเจนที่อยู่บนแต่ละข้างของโครโมโซมคู่ที่ 9 นี้
1. คนที่มีหมู่โลหิต A อาจมีรูปแบบของยีนเป็น iA & iA (Homozygous – ยีนเหมือนกัน), หรือ iA & i (Heterozygous – ยีนต่างกัน)
2. คนที่มีหมู่โลหิต B อาจมีรูปแบบของยีนเป็น iB & iB (Homozygous – ยีนเหมือนกัน), หรือ iB & i (Heterozygous – ยีนต่างกัน)
3. คนที่มีหมู่โลหิต AB มีรูปแบบของยีนเป็น   iA & iB
4. คนที่มีหมู่โลหิต O มีรูปแบบของยีนเป็น  iO & iO.

ภาพต่อไปนี้สรุปให้เห็นถึงรูปแบบของยีนที่เป็นไปได้สำหรับแต่ละหมู่โลหิต โดยคำว่า ฟีโนไทป์ (Phenotype) หมายถึงลักษณะที่ปรากฏให้เห็นภายนอก ซึ่งในที่นี้หมายถึงหมู่โลหิตที่ปรากฏ ส่วนคำว่า จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึงรูปแบบภายในของยีนที่ปรากฏแล้วทำให้เกิดลักษณะภายนอกแบบนั้น

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กรุ๊ปเลือด

เนื่องจากเด็กได้รับโครโมโซมข้างหนึ่งมาจากพ่อ และได้รับอีกข้างหนึ่งมาจากแม่ ทำให้การถ่ายทอดทางพันธุกรรมของยีนที่ควบคุมการแสดงออกของหมู่โลหิตเป็นไปแบบสุ่ม และเด็กจะมีหมู่โลหิตแบบไหนก็ขึ้นกับรูปแบบยีนที่ควบคุมการแสดงออกหมู่โลหิตของพ่อและแม่

ตัวอย่างเช่น ถ้าพ่อมีหมู่โลหิต B (แบบ Homozygous) และแม่มีหมู่โลหิต A (แบบ Heterozygous) โอกาสที่เด็กคนนี้จะมีหมู่โลหิต B เท่ากับ 50% และโอกาสที่จะมีหมู่โลหิต AB ก็เท่ากับ 50% แต่จะไม่มีโอกาสที่เด็กคนนี้จะมีหมู่โลหิตเป็น A หรือ O ได้เลย (ดูภาพด้านล่างประกอบ)

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กรุ๊ปเลือด

ตารางด้านล่างแสดงรายละเอียดจีโนไทป์ของหมู่โลหิตทั้งหมดที่เด็กจะได้รับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมมาจากพ่อแม่

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กรุ๊ปเลือด

ตารางถัดมานี้คือการสรุปอย่างง่าย ๆ ให้เห็นรูปแบบหมู่โลหิตที่จะปรากฏในเด็ก เมื่อได้รับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมหมู่โลหิตแบบต่าง ๆ มาจากพ่อและแม่

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กรุ๊ปเลือด

ถ้าคุณยังงุนงงสงสัย หรือแม้ลองเทียบตารางต่าง ๆ แล้วแต่ก็ยังไม่แน่ใจ คุณสามารถใช้บริการ พี ที ซี แลบบอราทอรี ให้ตรวจพิสูจน์ความเป็นบิดาให้กับคุณ เราการันตีความแม่นยำของผลตรวจอย่างน้อย 99.99% เพื่อช่วยให้คุณตอบคำถามที่สำคัญที่สุดในชีวิต!

References:

https://canadiancrc.com/paternity_determination_blood_type.aspx

https://www.cpt.org/files/PP%20-%20Blood%20Types.pdf

https://www.biology.arizona.edu/human_bio/problem_sets/blood_types/inherited.html

https://www.slideshare.net/nirmalajosephine1/biology-form-5-chapter-5-51-inheritance (See slide 63-74 )

�����Է�ҹԾ��� ����֡�����º��º��ŧ���� "ma" ����Ҩչ��ҧ�Ѻ��������·���դ����������ǡѹ
A COMPARATIVE STUDY OF FINAL PARTICLE "MA" IN MANDARIN AND ITS THAI EQUIVALENTS. ���͹��Ե �Ե� ͸ԡԨ
Niti Atikit �����Ҩ�������֡�� �.��. ������ �س����ͧപ��.��. ��оԳ ������Ժ����
Suree Choonharuangdej, Ph.D. Asso.Prof. Prapin Manomaivibool, Ph.D. ����ʶҺѹ ����ŧ�ó�����Է�����. �ѳ�Ե�Է�����
Chulalongkorn University. Bangkok (Thailand). Graduate School. �дѺ��ԭ�������������´�Ң��Ԫ� �Է�ҹԾ�����Һѳ�Ե. �ѡ����ʵ�� (���Ҩչ)
Master. Arts (Chinese) �շ�診����֡�� 2548 ���Ѵ���(��) ����֡���Ԩ�¤��駹���繡���֡���������º��º��ŧ���� ma ����Ҩչ�Ѻ���ѡɳ����ǡѹ���������� �դ���������С��������͹����ᵡ��ҧ�ѹ���ҧ�� �������Ѻࡳ���˹��Ӷ��Ẻ�ͺ�Ѻ���ͻ���ʸ���������� �ҡ����֡�Ҿ���� �� ma ����ö�ʴ�ਵ�Ңͧ���ٴ����ҡ�����������ö�ʴ���������ᵡ��ҧ�ѹ仵����Ժ� �ҡ�����������������ʧ�����ͤ�����ͧ��âͧ���ٴ����ѡ������ö���͡���ͧ�������� 1. �� ma 㹻���¤�Ӷ������������¤������ͺ�Ѻ���ͻ���ʸ����繤Ӷ�����繤Ӷ�������ٴ��ͧ��äӵͺ ��º��Ѻ�� ~i~u�������� �����ѧ ��� �������~u~i 2. �� ma 㹻���¤�Ӷ������������¤������ͺ�Ѻ���ͻ���ʸ����繤Ӷ�����ͺ�繤Ӷ�������ٴ��ͧ��÷�Һ��Ҽ��ѧ�բ����ŷ����ٴ���������� ����ͻ�ҡ������Ѻ�ӵ�ҧ���������������º��Ѻ�� ~i~u����� ��������� �١��� �١������� ������� ���������������� ���������~u~i �͡�ҡ����㹻���¤������ͺ�Ѻ���ͻ���ʸ���� �� ma ��Ф��ѡɳ����ǡѹ��������ѧ����ö����ٻ����¤��͹����� ���Ѵ���(English) This study is to compare the meanings and usages of fmal particle "ma" in Mandarin Chinese and its Thai equivalents against a fixed set of criteria used for the type of yes-no questions to see if there is any similarity and difference between them. This study found that "ma" in Mandarin Chinese can express speakers' different attitudes. It can also be used to represent different meanings depending on contexts. Based on the speakers' objectives, we can analyze and divide the use of "ma" into two groups, namely: 1. The type of yes-no question "ma" used as a "real question" : It indicates the speaker' s desire for the answer and its Thai equivalents are "rww platy" "rww yarl" "mai" "rww mai". 2. The type of yes-no question "ma" used as an "exam question" : It signals the speaker's intention of acquiring the listener's information and its Thai equivalents are "chai mal" "chaff rww mai" "thuuk mai" "thuuk rww mai" "chai dai mai" "chaff dai rww mai" "dai mal" "dai rww mai". Aside from being used in the type of yes-no question, the Mandarin Chinese final particle "ma" and its Thai equivalents can be used in the form of rhetorical question as well. ���ҷ������¹�Է�ҹԾ��� �ӹǹ˹�Ңͧ�Է�ҹԾ��� 103 P. ISBN 974-14-3802-8 ʶҹ���Ѵ���Է�ҹԾ��� ���Ӥѭ MA, QUESTION WORD, REAL QUESTION, EXAM QUESTION, RHETORICAL QUESTION �Է�ҹԾ���������Ǣ�ͧ

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของหมู่เลือด ABO เป็นอย่างไร

1. การถ่ายทอดลักษณะหมู่เลือดระบบ ABO ถูกควบคุมด้วยยีนซึ่งมีอัลลีลเกี่ยวข้อง 3 อัลลีล คือ IA , IB, iพบว่าอัลลีล IA และอัลลีล IB ต่างก็แสดงลักษณะเด่นเท่าๆกัน (อัลลีล IA และอัลลีล IB ต่างก็เป็น Co – dominant allele ส่วนอัลลีล i เป็น recessive allele)

คนหมู่เลือด O มีจีโนไทป์แบบใด

ตอบ: หมู่เลือด O มีจีโนไทป์แบบเดียวคือ ii ดังนั้น พ่ออาจจะมีหมู่เลือด O (จีโนไทป์ ii) หรือ พ่ออาจจะเป็นเฮเทอโรไซกัสของหมู่เลือด A (จีโนไทป์ IAi) หรือ B (จีโนไทป์ IBi) ก็ได้

หมู่เลือดใดเป็น Codominance

การแสดงออกร่วมกันของยีน (Co-dominant) คือลักษณะเด่นที่แสดงออกร่วมกัน เกิดจากอัลลีลเด่นอยู่ร่วมกันแล้วข่มกันไม่ได้ ตัวอย่างเช่น หมู่เลือด AB มีจีโนไทป์เป็นIA IB องค์ประกอบของBeta-globin ในฮีโมโกลบิน ที่มีฟีโนไทป์ได้สามแบบ คือ HbA/HbA HbA/HbS และ HbS/HbS หรือดอกไม้ที่เป็นดอกด่างคือมีสองสีในกลีบเดียวกัน ในระดับอณูชีววิทยา ...

คนที่มีหมู่เลือด B จะมีจีโนไทป์เป็นเช่นใด

ลูกที่มีเลือดหมู่ B. มีจีโนไทป์เป็น I. B.