การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ตัวอย่าง

เผยแพร่เมื่อ 15/09/2018 17:15

แก้ไขเมื่อ 08/12/2022 12:14

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น

ข้อมูล

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ตัวอย่าง

Khxmpsn

ตัวอักษรไหน มองไม่เห็นหรือไม่เข้าใจ สามารถทักมาถามได้ที่ IG : psnstudiestime นะคะ
แก้ไขหน่อยนะคะะ😭😭😭 ที่จริงเป็นหน่วยที่ 4 นะคะ เราเขียนผิด บทที่ 1 นะคะ

ถ้าคิดว่าโน้ตนี้มีประโยชน์ ก็กดติดตามผู้เขียนเพื่อรับแจ้งเตือนเมื่อมีโน้ตใหม่ ๆ มาได้เลย!

ความคิดเห็น

ยังไม่มีความคิดเห็น

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ตัวอย่าง

สมุดโน้ตแนะนำ

คำถามที่เกี่ยวข้องกับโน้ตสรุปนี้

วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ตัวอย่าง

การแสดงความคิดเห็น คือ การแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด และข้อสันนิษฐานนั้นออกมาให้ผู้ฟัง ผู้อ่านได้รับรู้ เมื่อกล่าวถึงความคิดเห็น จำเป็นต้องกล่าวถึงข้อเท็จจริงด้วย ข้อเท็จจริงคือ ข้อมูล ปรากฏการณ์ และเรื่องราวต่างๆ ตามที่ปรากฏแก่บุคคลทั่วไป  

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ตัวอย่าง

เขียนโดย Krit ที่ 09:16

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ตัวอย่าง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

บทความใหม่กว่า บทความที่เก่ากว่า หน้าแรก

สมัครสมาชิก: ส่งความคิดเห็น (Atom)

รู้ไหมว่า “การอ่าน”นั้น มีหลายระดับและมีวิธีการต่างๆ ตามความมุ่งหมายของผู้อ่านและประเภทของสื่อการอ่าน ทั้งนี้เราไปดูกันดีกว่าว่า “6 วิธีการอ่าน” นั้นจะมีอะไรบ้าง เพื่อที่จะได้เลือกวิธีการอ่านให้เหมาะสมยังไงหล่ะครับ

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ตัวอย่าง

1. การอ่านสำรวจ คือ การอ่านข้อเขียนอย่างรวดเร็ว เพื่อรู้ลักษณะโครงสร้างของข้อเขียน สำนวนภาษา เนื้อเรื่องโดยสังเขป เป็นวิธีอ่านที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการเลือกสรรสิ่งพิมพ์ สำหรับใช้ประกอบการค้นคว้า หรือการหาแนวเรื่องสำหรับเขียนรายงาน และรวบรวมบรรณานุกรมในหัวข้อที่เขียนรายงาน

2. การอ่านข้ามเป็น วิธีอ่านอย่างรวดเร็วเพื่อเข้าใจเนื้อหาของข้อเขียน โดยเลือกอ่านข้อความบางตอน เช่น การอ่านคำนำ สาระสังเขป บทสรุป และการอ่านเนื้อหาเฉพาะตอนที่ตรงกับความต้องการ เป็นต้น

3. การอ่านผ่าน เป็นการอ่านแบบกวาดสายตา (Scanning Reading) โดยผู้อ่านจะทำการกวาดสายตาอย่างรวดเร็วไปยังสิ่งที่เป็นเป้าหมายในข้อเขียน เช่น คำสำคัญ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์ แล้วอ่านรายละเอียดเฉพาะที่เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการ เช่น การอ่านเพื่อค้นหาชื่อในพจนานุกรม และการอ่านแผนที่

4. การอ่านจับประเด็นหมายถึง การอ่านเรื่องหรือข้อเขียนโดยทำความเข้าใจสาระสำคัญในขณะที่อ่าน มักใช้ในการอ่านข้อเขียนที่ไม่ยาวนัก เช่น บทความ การอ่านเร็วๆ หลายครั้งจะช่วยให้จับประเด็นได้ โดยการอ่านมีเทคนิคคือ ต้องสังเกตคำสำคัญ ประโยคสำคัญที่มีคำสำคัญ และทำการย่อสรุปบันทึกประโยคสำคัญไว้ เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป

5. การอ่านสรุปความ หมายถึง การอ่านโดยสามารถตีความหมายสิ่งที่อ่านได้ถูกต้องชัดเจนเข้าใจเรื่องอย่างดี สามารถแยกส่วนที่สำคัญหรือไม่สำคัญออกจากกัน รู้ว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริง หรือข้อคิดเห็น ส่วนใดเป็นความคิดหลัก ความคิดรอง

การอ่านสรุป ความมีสองลักษณะคือ การสรุปแต่ละย่อหน้าหรือแต่ละตอน และสรุปจากทั้งเรื่อง หรือทั้งบท การอ่านสรุปความควรอย่างอย่างคร่าว ๆ ครั้งหนึ่งพอให้รู้เรื่อง แล้วอ่านละเอียดอีกครั้งเพื่อเข้าใจเรื่องอย่างดี หลักจากนั้นตั้งคำถามตนเองในเรื่องที่อ่านว่าเกี่ยวกับอะไร มีเรื่องราวอย่างไร แล้วเรียบเรียงเนื้อหาเป็นสำนวนภาษาของผู้สรุป

6. การอ่านวิเคราะห์ การอ่านเพื่อค้นคว้าและเขียนรายงานโดยทั่วไปต้องมีการวิเคราะห์ความหมายของ ข้อความ ทั้งนี้เพราะผู้เขียนอาจใช้คำและสำนวนภาษาในลักษณะต่าง ๆ อาจเป็นภาษาโดยตรงมีความชัดเจนเข้าใจง่าย ภาษาโดยนัยที่ต้องทำความเข้าใจ และภาษาที่มีความหมายตามอารมณ์และความรู้สึกของผู้เขียน

ผู้อ่านที่มี ความรู้เรื่องคำศัพท์และสำนวนภาษาดี มีประสบการณ์ ในการ อ่านมากและมีสมาธิในการอ่านดี ย่อมสามารถวิเคราะห์ได้ตรงความหมายที่ผู้เขียนต้องการสื่อ และสามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดี

ข้อมูลจาก: thaijustice

ร่วมแสดงความคิดเห็น...