โครงร่างวิจัยในชั้นเรียน คณิตศาสตร์

ชื่อผลงาน

                ผลของ KDget*R Model  ที่มีผลต่อการบอกค่าตัวเลขตั้งแต่ 1100 ของนักเรียนที่มีปัญหาทางการคิดคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 25   ตำบลแม่ยางตาล อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

บทที่ 1

1  ภูมิหลัง

1.1โรงเรียนและคณะครูมีหน้าที่ช่วยเหลือพัฒนาเด็กที่มีปัญหาการคิดคำนวณตามศักยภาพและเต็มความสามารถของแต่ละบุคคล

1.2ปัญหา

จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พบว่าเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ทางด้านคิดคำนวณมีปัญหาดังนี้

1.นักเรียนไม่สามารถบอกค่าตัวเลขตั้งแต่ 1 -100 ได้

2.นักเรียนไม่สามารถกระจายจากหลักหน่วย เป็นหลักสิบ เป็นหลักร้อยได้

3.นักเรียนไม่สามารถลบค่าตัวเลขที่ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบได้

4.นักเรียนไม่สามารถกระจายตัวเลข 3หลักได้

5.นักเรียนไม่สามารถทดตัวเลข 3 หลักได้

6.นักเรียนไม่สามารถนับตัวเลขทีละเท่าๆกันได้

7.นักเรียนไม่สามารถคูณเลข 3 หลักได้

ตังบ่งชี้ของการบอกค่าตัวเลขตั้งแต่ 1100 ไม่ได้ หมายถึงเมื่อครุกำหนดตัวเลขตั้งแต่ 1100 ให้จำนวน 100 ข้อ นักเรียนสามารถบอกค่าได้อย่างน้อย 80 ข้อ

2.วัตถุประสงค์

                เพื่อศึกษาผลของ KDget*R Model  ที่มีผลต่อการบอกค่าตัวเลขตั้งแต่ 1100 ไม่ได้ ของนักเรียนที่มีปัญหาการเรียนรู้

1.ความสำคัญ

1.1 ช่วยแก้ปัญหาการบอกค่าตัวเลขตั้งแต่ 1100 ไม่ได้ ของนักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้

1.2ช่วยให้ได้ นวัตกรรมรูปแบการสอน  KDget*R Model 

4.ขอบเขตของการศึกษา

4.1ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 25 ตำบลแม่ยางตาล อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

4.2 ระยะเวลา เดือน  ก.ค. 50ก.ย. 50

4.3 ตัวแปรศึกษา

4.3.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ รูปแบบการสอน KDget*R Model 

4.3.2 ตัวแปรตามได้แก่

 ตัวแปรอิสระ                                                                                                       ตัวแปรตาม

KDgetR Model                      è            สามารถบอกค่าตัวเลขตั้งแต่ 1 -100 ได้

                                                                                      ถูกต้อง

5.นิยามศํพท์เฉพาะ

5.1 รูปแบบการสอน KDgetR Model  หมายถึงการสอนที่ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้

                K (Knowledge)   คือ การสอนการอธิบาย                D( Desige)            คือ เขียนสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์แสดงค่าตัวเลข                G(Game)              คือ เล่นเกมจับคู่ , ยกตัวอย่างของจริง

                E(Exercice)          คือ แบบฝึกหัด,แบบทดสอบ

                T (Test)                 คือ แบบทดสอบ

                R( Reinforcement) คือ การเสริมแรงทั้งทางลบและทางบวก

5.2 การบอกค่าตัวเลขตั้งแต่ 1 -100  หมายถึง  จำนวนตั้งแต่ 1 , 2 , 3, .... , 100

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 3

วิธีดำเนินการทดลอง

3.1ประชากร เป็นนักเรียนที่มีปัญหาทางการคิดคำนวณชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 25 ตำบลแม่ยางตาล อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

3.2 เครื่องมือ จำแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

3.2.1 เครื่องมือทดลอง ได้แก่ แผนการสอนตามรูปแบบของ KDgetR Model 

3.2.2 เครื่องมือวัดการบอกความหมายของจำนวนนับตั้งแต่ 1100 (O)

3.3 วิธีทดลอง ได้ดำเนินการดังนี้

                1. การดำเนินการทดสอบก่อนเรียน

                2.การสอนโดยใช้รูปแบบ KDgetR Model 

                3.การดำเนินการทดสอบหลังเรียน

วิธีรวบรวมข้อมูล

1.ทดสอบก่อนเรียน วันที่ .....

2.ทดลองสอนตามรูปแบบการสอน KDgetR Model  จำนวน  8 สัปดาห์

3.ทดสอบหลังเรียน  วันที่ .........

3.4 วิธีวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ

                ใช้ค่าเฉลี่ยและร้อยละ

                บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

  ผลการวิเคราะห์ข้อมูลก่อนเรียนและหลังเรียน มีตารางที่ 1 , 2 และ 3 ดังนี้

(ยังไม่มีผลการทดลองใช้)

บทที่ 5

สรุปผลและการประยุกต์ใช้

1.วัตถุประสงค์ของการศึกษา

เพื่อศึกษาผลของ KDgetR Model  ที่มีผลต่อการบอกค่าตัวเลขตั้งแต่ 1100 ไม่ได้ ของนักเรียนที่มีปัญหาการเรียนรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 25 ตำบลแม่ยางตาล อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

2.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนที่มีปัญหาการคิดคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 25 ตำบลแม่ยางตาล อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

3.เครื่องมือ

3.1 เครื่องมือทดลอง ได้แก่ แผนการสอนตามรูปแบบของ KDgetR Model 

3.2 เครื่องมือวัดการบอกความหมายของจำนวนนับตั้งแต่ 1100 (O)

4.สรุปผลการศึกษา

                พบว่าการสอนตามรูปแบบของ KDgetR Model   ทำให้นักเรียนที่มีปัญหาทางการคิดคำนวณ มีคะแนนการทดสอบบอกจำนวนนับ 1100 จาก ........ เป็น ร้อยละ ........

5.การนำผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้

                นำผลการวิจัยไปใช้ในการแก้ปัญหาการกระจายค่าจากหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย ต่อไป