สถาบันการเงินทั่วไปคืออะไร

    สถาบันการเงินสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท  ได้แก่  ธนาคาร  และสถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร

     1.  ธนาคาร
          1.1  ธนาคารกลาง  หมายถึง  สถาบันทางการเงินของรัฐซึ่งมีอำนาจหน้าที่ควบคุมปริมาณเงินและเครดิตของประเทศ  ให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและเสถียรภาพต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ  แต่ต้องอยู่ภายใต้นโยบายของรัฐบาล  ไม่ได้แสวงหาผลกำไรเป็นผลตอบแทนเหมือนกับธนาคารพาณิชย์  ได้แก่  ธนาคารแห่งประเทศไทย
          1.2  ธนาคารพาณิชย์  หมายถึง  ธนาคารที่ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายเงินคืนเมื่อต้องทวงถาม  หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้  รวมทั้งให้กู้ยืมหรือสินเชื่อแก่ประชาชน  ให้บริการซื้อขายตั๋วแลกเงิน  หรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
          1.3  ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์เป็นพิเศษ  ได้แก่
               1)  ธนาคารออมสิน  เป็นธนาคารของรัฐบาล  มีหน้าที่รับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป  โดยเฉพาะผู้มีเงินออมรายย่อย  ออกพันธบัตร  สลากออมสิน  รับฝากเงินในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อสงเคราะห์ชีวิตและการศึกษาโดยเฉพาะเยาวชนของชาติ  และกิจกรรมอื่น ๆ เช่น  ปล่อยเงินกู้ให้ผู้มีรายได้น้อยในวงเงินต่ำ  คนทั่วไปจึงเรียกว่า  ธนาคารคนจน
               2)  ธนาคารอาคารสงเคราะห์  เป็นธนาคารของรัฐบาล  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนเกี่ยวกับการกู้ยืม  เพื่อนำไปซื้อที่ดินหรืออาคารสิ่งปลูกสร้าง  หรือซ่อมแซมต่อเติม  ไถ่ถอนการจำนองที่ดินและอาคาร  หรือเพื่อการลงทุนในกิจการการเคหะ  พร้อมกับรับฝากเงินของประชาชนทั่วไปด้วย
               3)  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)  สังกัดกระทรวงการคลัง  ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินแก่เกษตรกร  กลุ่มเกษตรกร  หรือสหกรณ์การเกษตร  ในรูปของการกู้ยืมเงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำ  เพื่อนำไปลงทุนด้านการเกษตร

     2.  สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร
          2.1  บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์จำกัด  มีวัตถุประสงค์คล้ายกับธนาคารพาณิชย์มากที่สุด  คือ  ระดมาเงินออมโดยออกตราสารเครดิตหรือตั๋วแลกเงินเพื่อเป็นหลักฐานในการกู้เงินจากประชาชน
          2.2  บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่กิจการอุตสาหกรรมเอกชน
          2.3  บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่อุตสาหกรรมขนาดย่อมและอุตสาหกรรมครัวเรือน
          2.4  บริษัทเครดิตฟองซิเอร์  มีวัตถุประสงค์ในการกู้ยืมเงินเพื่อการซื้อที่ดิน  สร้างบ้านหรือผ่อนส่ง
          2.5  บริษัทประกันภัยและบริษัทประกันชีวิต  เป็นสถาบันทางการเงินที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้ผ่อนหนักเป็นเบาได้  สถาบันนี้ไม่ค่อยประสบผลสำเร็จเพราะขาดการประชาสัมพันธ์  และประชาชนไม่เห็นผลประโยชน์ที่พึงได้รับจากการนำเงินไปลงทุน  ทำให้หลายบริษัทล้มเหลวและในที่สุดขาดความมั่นคงให้กับผู้ประกันภัย
          2.6  สหกรณ์ออมทรัพย์  เป็นสถาบันการเงินที่ประชาชนเริ่มเห็นคุณค่าและเห็นประโยชน์ของการร่วมมือเพื่อช่วยเหลือชุมชน  หรือกลุ่มบุคคลที่มีความคิดในแนวเดียวกัน  จัดทำขึ้นเพื่อออมทรัพย์และจัดทำหน่วยธุรกิจของกลุ่มตนเอง  หรือชุมชน
          2.7  โรงรับจำนำ  เป็นสถาบันการเงินขนาดย่อม  มี 3 ประเภท  คือ  โรงรับจำนำเอกชน  โรงรับจำนำของกรมประชาสงคราะห์  โรงรับจำนำของเทศบาล  ซึ่งได้ให้บริการกู้ยืมเงินแก่บุคคลทั่วไป  โดยรับจำนำสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ

ที่มา : http://together1711.wordpress.com/ประเภทของสถาบันการเงิน/

         http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1918-00/

​​​​​​​หมายถึง สถาบันการเงินของรัฐที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น เพื่อดำเนินการตามนโยบายของรัฐในการพัฒนาส่งเสริมเศรษฐกิจ และสนับสนุนการลงทุนต่าง ๆ โดยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลังซึ่งได้มอบหมายให้ ธปท. ทำหน้าที่ตรวจสอบผลการดำเนินงานและความเสี่ยง และรายงานผลการตรวจสอบไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

SFIs แบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่

1. สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ทำหน้าที่เป็นธนาคารที่ให้บริการทางการเงินทั้งด้านเงินฝากและให้สินเชื่อ ซึ่งปัจจุบันมี 4 แห่ง คือ

สถาบันการเงินทั่วไปคืออะไร
 

1.1 ธนาคารออมสิน (Government Savings Bank)


เป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชกำหนดบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2540 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย โดยนำหลักการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (Securitization) มาใช้เพื่อระดมทุนสำหรับการขยายสินเชื่อที่อยู่อาศัยให้เพียงพอ รวมทั้งช่วยแก้ปัญหาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศ ​(ศึกษารายละ​เอีย​ดเพิ่มเติม)   ​​

สถาบันการเงิน มีอะไรบ้าง

สามารถแบ่งได้ 3 ประเภทย่อยๆ ได้แก่ 1.1 ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ ธนาคารกลาง 1.2 ธนาคารพาณิชย์ เช่น 1.3 ธนาคารที่ตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ ได้แก่

สถาบันการเงินมี3ประเภทอะไรบ้าง

๓ ประเภท ๑. ธนาคารแห่งประเทศไทย ๒. ธนาคารพาณิชย์ ๓. ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ

สถาบันการเงินมีหน้าที่อะไรบ้าง

สถาบันการเงินมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจการเงินของประเทศ โดยทำหน้าที่ระดมและจัดสรรเงินทุนแก่ภาคเศรษฐกิจจริง การชำระราคาและบริการ การบริหารความเสี่ยง รวมถึงการให้ข้อมูลทางการเงินเพื่อการตัดสินใจ ดังนั้น การดูแลให้การดำเนินงานของสถาบันการเงินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีธรรมาภิบาลและบริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ไม่ก่อ ...

ธนาคารอาคารสงเคราะห์เป็นสถาบันการเงินประเภทใด

ชื่อธนาคาร : ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ประเภทธุรกิจ : สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง