กองทุน สำรอง เลี้ยง ชีพ ที่ไหน ดี

ตามประเภทสินทรัพย์หลัก (Core Asset Class) ในสัดส่วนการลงทุนที่แตกต่างกันตามหลักการ Asset Allocation โดยสมาชิกสามารถเลือกนโยบายลงทุน (Employee’s Choice) ได้ในระดับกองทุนย่อย (Sub-Fund) โดยจัดแบ่งตามระดับผลตอบแทนที่คาดหวัง และความเสี่ยงจากการลงทุนที่สมาชิกยอมรับได้

กองทุนได้รับรางวัลรองชนะเลิศกองทุนสำรองเลี้ยงชีพดีเด่นครั้งที่ 6 ประจำปี 2560 ประเภท “Pooled Fund ขนาดกองทุนเล็กกว่า 10,000 ล้านบาท” จากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.)
1. ประโยชน์สูงสุดจากการจัดสรรสัดส่วนการลงทุน (Asset Allocation) ที่ดีที่สุด สอดคล้องกับวัย ระยะเวลาการลงทุน และความคาดหวังในผลตอบแทนของสมาชิกแต่ละท่าน
2. การลงทุนเชิงรุก (Active Management Style) + การปรับสัดส่วนการลงทุนให้อัตโนมัติ (Automatic Rebalancing) ซึ่งหมายความว่าสัดส่วนการลงทุนของสมาชิกจะไม่เบี่ยงเบนไปตามภาวะตลาดที่เปลี่ยนแปลง
3. นโยบายการลงทุนแบ่งตามระดับผลตอบแทนและความเสี่ยงโดยมีการทดสอบผลการลงทุนด้วยการใช้แบบจำลองย้อนหลัง (Back-test model) เพื่อให้การจัดสรรสัดส่วนการลงทุนมีประสิทธิภาพสูงสุด(Optimal Portfolio) โดยใช้ข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี
4.โอกาสในการเพิ่มการลงทุนในสินทรัพย์อื่น ๆ ที่สามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีภายใต้โครงสร้างที่เหมาะสม

กองทุนเปิด ไทยแคชแมเนจเม้นท์ สำหรับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพกองทุนรวมตลาดเงิน (Money Market Fund) กองทุนที่ลงทุนแบบไม่มีความเสี่ยงต่างประเทศ

กองทุนเปิด ไทยตราสารหนี้ สำหรับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนรวมตราสารหนี้ กองทุนที่ลงทุนแบบไม่มีความเสี่ยงต่างประเทศ

กองทุนเปิด ไทย อิควิตี้ฟันด์ กองทุนรวมตราสารทุน กองทุนที่ลงทุนแบบไม่มีความเสี่ยงต่างประเทศ

กองทุนเปิด ยูไนเต็ด ฟิกซ์ อินคัม ฟันด์ออฟ ฟันด์ หน่วยลงทุนชนิดเพื่อผู้ลงทุนนิติบุคคล กองทุน ตราสารหนี้ระยะสั้นต่างประเทศ

กองทุนเปิด ยูไนเต็ดซัสเทนเนเบิล เครดิต อินคัม ฟันด์ กองทุน ตราสารต่างหนี้ต่างประเทศ

กองทุนเปิด ยูไนเต็ดโกลบอลบาลานซฟ์ันด์ – หน่วยลงทุนชนิดรับซื้อคืน หน่วยลงทุนแบบปกติ กองทุนรวมผสมตราสารต่างประเทศ

กองทุนเปิด ยูไนเต็ด อิควิตี้ ซัสเทนเนเบิล โกลบอล ฟันด์ กองทุนรวมตราสารทุน

  • ตลาดเงิน หมายถึง TCMFPVD*
  • ตราสารหนี้ หมายถึง TFIFPVD*
  • หุ้น หมายถึง TEF*

  • ตราสารหนี้ระยะสั้น ต่างประเทศ หมายถึง UFFF-I*
  • ตราสารต่างหนี้ต่างประเทศ หมายถึง USI*
  • หุ้น ต่างประเทศ หมายถึง UESG*
  • ตราสารต่างประเทศ หมายถึง UGBF-N*

• นโยบายการลงทุนของกองทุนรวมต่างประเทศที่นําเงินไปลงทุน

UGBF-N : วัตถุประสงค์ในการลงทุนเพื่อสร้างรายรับอย่างสม่ำเสมอให้แก่ผู้ลงทุนและการเติบโตของเงินลงทุนในระยะกลางและระยะยาว โดยกองทุนหลักจะลงทุนในทรัพย์สินที่หลากหลายซึ่งรวมถึง ทรัพย์สินประเภทดั้งเดิม (เช่น ตราสารทุน และตราสารหนี้ เป็นต้น ) และอาจมีการใช้ตราสารอนุพันธ์ตามความเหมาะสม

UFFF-I : เป็นกองทุน Fund of Funds โดยกระจายการลงทุนในกองทุนตราสารหนี้ต่างประเทศโดยเฉลี่ย รอบปิดบัญชีไม่น้อยกว่า 80% ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน เน้นลงทุนในตราสารหนี้ investment grade และอาจมีการลงทุนในตราสารหนี้ non-investment grade หรือ unrated ในสัดส่วนไม่เกิน 20% ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้จัดการกองทุน

USI : วัตถุประสงค์การลงทุนเพื่อเน้นรักษาระดับรายได้อย่างสม่ำเสมอโดยเน้นลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความหลากหลายในกลุ่มอุตสาหกรรม และดำเนินกลยุทธ์เพิ่ม ประสิทธิภาพของรายได้โดยจะเป็นตราสารหนี้ที่ออกโดยภาครัฐและ / หรือภาคเอกชนและกองทุนหลักจะพิจารณาลงทุนในบริษัทที่ผู้ออกหลักทรัพย์มีส่วนร่วมในหลักการ UN Sustainable Development Goals (SDGs)

UESG: ลงทุนในตราสารทุนของบริษัทต่างๆ ทั่วโลก ซึ่งเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจ ในประเทศที่พัฒนาแล้วเป็นหลักการเลือกตราสารทุนเพื่อลงทุนจะใช้หลักการวิเคราะห์ ปัจจัยพื้นฐานในหุ้นที่มีกระแสเงินสดในระดับสูงมีอัตราผลตอบแทนต่อเงินลงทุนเพื่อการดำเนินงานของบริษัท Return on Invested Capital (ROIC) ที่จูงใจ และมีแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่เหมาะสม

*TCMFPVD,TFIFPVD เป็นกองทุนรวมที่ได้รับยกเว้น การเก็บภาษีจากการลงทุนในตราสารหนี้
*TEF,UGBF-N, UFFF-I, USI, UESG เป็นกองทุนรวมที่มีภาระภาษีจากการลงทุนตราสารหนี้เพื่อสภาพคล่องของกองทุน

ซึ่งมีหลายนโยบายการลงทุนด้วยกัน ทั้งแบบที่เป็นการลงทุนตรง (Direct Investment) และผ่านกองทุนรวม (Mutual Fund) ในสินทรัพย์การลงทุนหลากหลายประเภท โดยมีคณะกรรมการกองทุนสามารถเป็นผู้กำหนดรูปแบบการลงทุน (แผนการลงทุน) ให้แก่สมาชิก หรือให้สมาชิกจัดสัดส่วนการลงทุนได้ด้วยตัวเอง (Do It Yourself: DIY) ก็สามารถทำได้เช่นเดียวกัน

1. เป็นกองทุนที่มีความยืดหยุ่นสูง (Flexibility) โดยสมาชิกสามารถกำหนดสัดส่วนการลงทุนของตนเองได้อย่างอิสระ หรือเป็นไปตามกรอบที่คณะกรรมการกองทุนกำหนด
2. คณะกรรมการกองทุนสามารถปรับเปลี่ยนนโยบาย หรือแผนการลงทุนได้ตามที่เห็นสมควร
3. โอกาสในการเพิ่มการลงทุนในสินทรัพย์อื่น ๆ ที่สามารถสร้างผลตอบแทนที่ดีภายใต้โครงสร้างที่เหมาะสม
4. เนื่องจากบลจ. ยูโอบี (ประเทศไทย) จำกัด บริหารกองทุนและจัดทำระบบทะเบียนสมาชิกเอง จึงสามารถรองรับนโยบายการลงทุน และการปรับเปลี่ยนของสมาชิกได้โดยไม่มีข้อจำกัด

ยูโอบี ทรัพย์มั่นคง (ตราสารหนี้ภาครัฐ)

ยูโอบี เพิ่มพูนทรัพย์ (ตราสารหนี้)

ยูโอบี ทวีทรัพย์ (หุ้น < 20)

ยูโอบี อิควิตี้ (ลงทุนตรง)

ไทย อิควิตี้ฟันด์ (กองทุนรวม TEF)

ยูโอบี สมาร์ท ดิวิเดนท์โฟกัสฯ (กองทุนรวม UOBSDF)

ยูโอบี สมาร์ท แอคทีฟเซท 100 (กองทุนรวม UOBSAS 100)

ยูไนเต็ด โกลบอล อินคัม สตราทีจิค บอนด์ ฟันด์ UGIS-N

ยูไนเต็ด ซัสเทนเนเบิล เครดิตอินคัม ฟันด์ USI

ยูโอบี สมาร์ท โกลบอลแอลโลเคชั่น UOBSGA

ยูไนเต็ด โกลบอล บาลานซ์ฟันด์ UGBF-N

ยูไนเต็ด โกลบอล ดูเรเบิ้ล อิควิตี้ UGD

ยูไนเต็ด สมาร์ท โกลบอลอิควิตี้ ฟันด์ USGE-PVD

ยูไนเต็ด อิควิตี้ซัสเทนเนเบิลโกลบอล ฟันด์ UESG

ยูไนเต็ด ไชน่า เอ แชร์ อินโนเวชั่น ฟันด์ UCI

ยูโอบี สมาร์ท เอเชีย UOBSA

ยูไนเต็ด โกลบอล ซัสเทนเนเบิล อินฟราสตรัคเจอร์ อิควิตี้ ฟันด์ UINFRA

ยูโอบี สมาร์ท โกลด์ UOBSG-N

กองทุน สำรอง เลี้ยง ชีพ ที่ไหน ดี
                                   

หมายเหตุ *นโยบายที่ 1-4 เป็นการลงทุนตรงในนโยบายใดๆ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นโยบายอื่นๆ เป็นการลงทุนผ่านกองทุนรวมของ บลจ.ยูโอบี นโยบาายที่มีการลงทุนตรงในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ลงทุนในไหน

ปัจจุบันนโยบายการลงทุนของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมีให้เลือกหลากหลาย ตั้งแต่ระดับสินทรัพย์ที่มี ความมั่นคงสูง (ความเสี่ยงต่ำ) จนถึงสินทรัพย์ที่ผลตอบแทนสูง (ความเสี่ยงสูง) อาทิ เงินฝาก ตราสารหนี้ หุ้นไทย หุ้นต่างประเทศ อสังหาริมทรัพย์ทองคำ โดยเพื่อนสมาชิกสามารถเลือกลงทุนให้เหมาะสมกับลักษณะ และความต้องการของตนเอง เช่น อายุ ( ...

ซื้อกองทุนรวมกับธนาคารไหนดี

ถ้าหากว่าทุกท่านต้องการคำแนะนำ ว่าจะหาซื้อกองทุนลดหย่อนภาษี หรืออยากจะซื้อกองทุนไหนดี เราขอแนะนำ 3 ธนาคารหลักของไทยซึ่งเป็นแหล่งซื้อกองทุน ที่ดีที่สุดนั่นคือซื้อกองทุนกสิกร ซื้อกองทุน scb และ กองทุนกรุงไทย 3 ธนาคารนี้มีราคาหน่วยลงทุน ที่ภาษีดีที่สุด ความเสี่ยงต่ำ ถือได้ทั้งแบบยาวและแบบสั้น

กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ Tisco หักกี่เปอร์เซ็นต์

เงินสะสมที่ส่งเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สามารถนำมาหักลดหย่อนภาษีได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงสูงสุด 500,000 บาท แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้างในปีนั้น